ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตร์
เรื่อง การจัดการเรียนการสอนเพื่อเตรียมความพร้อมของนักศึกษาในการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพ
เห็นด้วยนะคะ ว่าอาจารย์ควรมีการปรับรูปแบการจัดการเรียนการสอน เพื่อกระตุ้นให้นศ. นั้นมีพัฒนาการด้านทักษะการคิด วิเคราะห์ การตัดสินใจ และทักษะในการทำข้อสอบ
นอกจากนี้ ทางภสควิชาควรต้องมีการจัดเตรียมข้อคำถาม ในรายวิชาการพยาบาลมารดาทารก และการผดุงครรภ์ สำหรับให้นศ. ได้ทบทวน โดยเริ่มตั้งแต่ชั้นปีที่ 3 ในระหว่าฃที่เรียนภาคทบ. และภาคปฏิบัติ และอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญในแต่ละ? field ต้องให้คอยกระตุ้น ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนศ. และติดตามนศ. ให้ประเด็น และอภิปราย ในระหว่างที่ทำ Pre-Post conference และการทำ Case conference และควร้เชื่อมโยง case กับแนวคิด หลักการจาก ทบ. อาจใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น การทำ concept mapping ในเรื่อง หรือประเด็น ที่เป็นสาระสำคัญ หรือแก่นของหลักการ ในการพยาบาลมารดาทารก และการผดุงครรภ์ รวมถึง ในแต่ละระยะ ตั้งแต่การตั้งครรภ์ การคลอด และหลังคลอด
นอกจากนี้ อาจารย์ที่มีความชำนาญในแต่ละ field ควรต้องมีการเชื่อมโยงเนื้อหาให้มีความต่อเนื่อง สำหรับนศ. เหมือนเป็นการดูแลนศ. แบบต่อเนื่อง จนครบ ทุก field หรืออาจจะทำรูปแบบการจัดการเรียนการสอน แบบ package และอาจารย์ทุกคนร่วมกันใช้ และมีการประเมิน หรือการทำวิจัยในชั้นเรียนเกี่ยวกับ package การสอน ซึ่งเป็นการบูรณาการการวิจัยกับการจัดการเรียนการสอน ทำให้อาจารย์สามารถทำงานได้หลาย ๆ อย่างในเวลาเดียวกัน อาจเป็นการทำให้การทำงานนั้นมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เหมือนยิงปืนนัดเดียวได้นกหลายตัว
การทำแบบนี้ต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วมแรง และทีมการทำงานที่ดี? และสิ่งที่สำคัญอีกเรื่องหนึ่งก็คือ การวาฃแผนการทำงานที่ดี เพื่อช่วยให้อาจารย์สามารถทำงานได้ดี มีประสิทธิภาพ ในขณะที่ภาระงานไม่หนักจนเกินไป…..
ศศมน
ช่วยกัน comment ด้วยนะจ๊ะ
แนวคิดในการสอนที่ให้นักศึกษาได้สะท้อนคิด ต่อกรณีศึกษานั้นน่าสนใจมาก เพราะการสะท้อนคิดเป็นการช่วยให้นักศึกษาได้ไตร่ตรอง คิดอย่างรอบคอบ รวมทั้งได้แลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่น ได้ประสบการณ์ใหม่ และอาจจะทำให้นักศึกษาสามารถสร้างประสบการณ์ใหม่ที่ back up ด้วย ทฤษฎี/หลักการ ได้ สามารถเชื่อมโยงไปสู่การสามารถแก้ปัญหาที่คล้ายคลึงกันในอนาคตได้
การจัดการเรียนการสอนที่นักศึกษาจะได้รับการพัฒนาการคิดวิเคราะห์มากที่สุดคือ การกระตุ้นให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์สถานการณ์ หรือกรณีศึกษา โดยเชื่อมโยงทฤษฎีสู่การปฏิบัติ รวมทั้งการได้ฝึกปฏิบัติจริงบนหอผู้ป่วย
RSS feed สำหรับความเห็นต่อเรื่องนี้ TrackBack URI
Name (ต้องการ)
Mail (will not be published) (ต้องการ)
Website
เห็นด้วยนะคะ ว่าอาจารย์ควรมีการปรับรูปแบการจัดการเรียนการสอน เพื่อกระตุ้นให้นศ. นั้นมีพัฒนาการด้านทักษะการคิด วิเคราะห์ การตัดสินใจ และทักษะในการทำข้อสอบ
นอกจากนี้ ทางภสควิชาควรต้องมีการจัดเตรียมข้อคำถาม ในรายวิชาการพยาบาลมารดาทารก และการผดุงครรภ์ สำหรับให้นศ. ได้ทบทวน โดยเริ่มตั้งแต่ชั้นปีที่ 3 ในระหว่าฃที่เรียนภาคทบ. และภาคปฏิบัติ และอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญในแต่ละ? field ต้องให้คอยกระตุ้น ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนศ. และติดตามนศ. ให้ประเด็น และอภิปราย ในระหว่างที่ทำ Pre-Post conference และการทำ Case conference และควร้เชื่อมโยง case กับแนวคิด หลักการจาก ทบ. อาจใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น การทำ concept mapping ในเรื่อง หรือประเด็น ที่เป็นสาระสำคัญ หรือแก่นของหลักการ ในการพยาบาลมารดาทารก และการผดุงครรภ์ รวมถึง ในแต่ละระยะ ตั้งแต่การตั้งครรภ์ การคลอด และหลังคลอด
นอกจากนี้ อาจารย์ที่มีความชำนาญในแต่ละ field ควรต้องมีการเชื่อมโยงเนื้อหาให้มีความต่อเนื่อง สำหรับนศ. เหมือนเป็นการดูแลนศ. แบบต่อเนื่อง จนครบ ทุก field หรืออาจจะทำรูปแบบการจัดการเรียนการสอน แบบ package และอาจารย์ทุกคนร่วมกันใช้ และมีการประเมิน หรือการทำวิจัยในชั้นเรียนเกี่ยวกับ package การสอน ซึ่งเป็นการบูรณาการการวิจัยกับการจัดการเรียนการสอน ทำให้อาจารย์สามารถทำงานได้หลาย ๆ อย่างในเวลาเดียวกัน อาจเป็นการทำให้การทำงานนั้นมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เหมือนยิงปืนนัดเดียวได้นกหลายตัว
การทำแบบนี้ต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วมแรง และทีมการทำงานที่ดี? และสิ่งที่สำคัญอีกเรื่องหนึ่งก็คือ การวาฃแผนการทำงานที่ดี เพื่อช่วยให้อาจารย์สามารถทำงานได้ดี มีประสิทธิภาพ ในขณะที่ภาระงานไม่หนักจนเกินไป…..
ศศมน
ช่วยกัน comment ด้วยนะจ๊ะ
แนวคิดในการสอนที่ให้นักศึกษาได้สะท้อนคิด ต่อกรณีศึกษานั้นน่าสนใจมาก เพราะการสะท้อนคิดเป็นการช่วยให้นักศึกษาได้ไตร่ตรอง คิดอย่างรอบคอบ รวมทั้งได้แลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่น ได้ประสบการณ์ใหม่ และอาจจะทำให้นักศึกษาสามารถสร้างประสบการณ์ใหม่ที่ back up ด้วย ทฤษฎี/หลักการ ได้ สามารถเชื่อมโยงไปสู่การสามารถแก้ปัญหาที่คล้ายคลึงกันในอนาคตได้
การจัดการเรียนการสอนที่นักศึกษาจะได้รับการพัฒนาการคิดวิเคราะห์มากที่สุดคือ การกระตุ้นให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์สถานการณ์ หรือกรณีศึกษา โดยเชื่อมโยงทฤษฎีสู่การปฏิบัติ รวมทั้งการได้ฝึกปฏิบัติจริงบนหอผู้ป่วย