สิ่งสำคัญของการจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด ไม่ใช่การรู้เพียงแค่หลักการการสะท้อนคิด แต่ควรมีการเชื่อมโยงจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติจริง เช่น การนิเทศภาคปฏิบัติ ผู้สอนและผู้เรียนควรมีการเตรียมตัวที่ถูกต้อง เพื่อให้การสะท้อนคิดมีความหมายและเกิดผลลัพธ์ในเชิงการพัฒนาต่อไป
การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Reflective thinking) สิ่งหนึ่งที่จะส่งเสริมให้เกิดการสะท้อนคิดอย่างจริงจัง มี 3 แบบ 1) content reflection : สะท้อนคิดสิ่งที่รับรู้ รู้สึกและทำ /What 2) Process reflection: สะท้อนคิดว่าเรารับรู้ รู้สึก และทำอย่างไร/ How 3) Premise reflection :สะท้อนคิดว่าทำไมเราจึงรับรู้ รู้สึกคิด และทำ/Why เพื่อเป็นการเชื่อมโยงไปสู่การคิดรวบยอดและสามารถนำมาสู่การปฏิบัติได้และทำให้เกิดผลการเปลี่ยนแปลงที่ดีได้
การสะท้อนคิด ที่นำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนนั้น สิ่งสำคัญคือ จะต้องกระตุ้นให้ผู้เรียนได้สะท้อนเหตุการณ์จากความคิดของตนเองอย่างเป็นระบบ ซึงการที่จะสะท้อนคิดได้ ผู้เรียนจะต้องมีการเปิดใจและฟังอย่างตั้งใจ ซึงการจัดการเรียนการสอนแบบนี้ เหมาะกับการเรียนในยุคปัจจุบัน ซึ่งสนับสนุนให้ผู้เรียนเป็นบุคคลที่กล้าคิด
การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Reflective thinking)ส่วนใหญ่นักศึกษาทราบขั้นตอนตามทฤษฤีแต่ยังไม่สามารถเลือกเหตุการณ์ที่เหมาะมาสะท้อนคิดได้อาจารย์สามารถช่วยกระตุ้นได้โดยการตั้งคำถามชวนคิด/ชวนมองเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นหรือพบระหว่างการเรียนการสอนและให้มีการอภิปรายแต่ละขั้นตอนซึ่งจะเป็นการช่วยพัฒนาการกล้าคิด มีการใช้เหตุผลและ การคิดอย่างเป็นระบบของนักศึกษา
การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Reflective thinking)ในปัจจุบันพบว่า นศ.ส่วนใหญ่ทราบขั้นตอนการสะท้อนคิดแต่ยังเลือกประเด็นหรือเหตุการณ์มาสะท้อนคิดยังไม่เหมาะสมอาผู้สอนสามารถช่วยได้โดยการตั้งคำถามชวนคิด/ชวนมองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างการเรียนการสอนและให้ นศ.ได้อภิปรายตามลำดับขั้นตอนเพื่อเป็นการช่วยพัฒนาการกล้าคิด การใช้เหตุผลและการคิดอย่างเป็นระบบของนักศึกษา
ได้นำหลักการของการสะท้อนคิดไปใช้กับนักศึกษาขณะฝึกภาคปฏิบัติ พบว่า นักศึกษาสามารถระบุเรื่องราว บอกเล่าความรู้สึกของตนเองได้ หากแต่ยังขาดทักษะในการคิดเชื่อมโยง แยกแยะบางประเด็นที่เกี่ยวข้องได้ ซึ่งตนเองคิดว่าอาจารย์ผู้สอนจะต้องมีเทคนิควิธีที่จะช่วยกระตุ้นโดยการใช้คำถามชวนคิด ชวนมองอย่างรอบด้านเพื่อเป็นฝึกให้นักศึกษาได้มีการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างเป็นระบบต่อไป (อ.วาสนา ครุฑเมือง)
การเรียนการสอนด้วยวิธีสะท้อนคิดเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับนักศึกษาเพราะนักศึกษาสามารถนำความรู้ความเข้าใจนี้ไปใช้ในการเรียนในวิชาอื่นๆโดยเฉพาะการพยาบาลต่างๆและสามารถนำความรู้ความเข้าใจนี้ไปใช้ได้กับสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันได้
การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Reflective thinking) เป็นการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้เกิดการสะท้อนคิด ผู้สอนจะต้องกระตุ้นให้ผู้เรียนได้สะท้อนเหตุการณ์จากความคิดของตนเองอย่างเป็นระบบ โดยแต่ละขั้นตอนจะช่วยพัฒนาการความกล้าคิด การใช้เหตุผลและการคิดอย่างเป็นระบบของนักศึกษาอย่างแท้จริง
การจัดการเรียนการสอนแบบ สะท้อนคิด (Reflective thinking) ได้นำไปใช้กับนักศึกษา เป็นการส่งเสริมให้นักศึกษาได้ฝึกกระบวนการคิดที่ดี แต่ขั้นที่ 2 การอธิบายความรู้ บางครั้งผู้เรียนยังแยกแยะไม่ออกระหว่างความคิด กับความรู้สึกต่อมีต่อสถานการณ์นั้น ทั้งด้านบวกและลบ
การเรียนรู้แบบสะท้อนคิดเป็นสิ่งที่ดีเพราะจะทำให้ผู้เรียนมีการคิดแบบเป็นขั้นตอนมีการตัดสินใจอย่างมาเหตุผลและครอบคลุมฉะนั้นการจัดการเรียนรู้แลบนี้ผู้เรียนและผู้สอนควรมรการเปิดใจเพื่อการเรียนรู้แบบใหม่และจีดบรรยากาศเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกระบวนการคิดของผู้เรียนอบ่างเป็นธรรมนติ
การจัดการเรียนการสอนแบบ สะท้อนคิด (Reflective thinking) ได้นำไปใช้กับนักศึกษา ในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิต พบว่า สามารถทำให้นักศึกษาเกิดกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาน มากขึ้น สร้างความมั่นใจในการฝึกงานให้กับนักศึกาษา
การสะท้อนความคิด (Reflection) ต้องใช้กระบวนการทางปัญญาและทัศนคติ การทบทวนประสบการณ์ที่ได้พบ ได้เห็น และได้ฟังมา เพื่อเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ รวมทั้งเป็นการสำรวจตนเอง เพื่อค้นหาว่าตนเองรู้และไม่รู้อะไร จนนำไปสู่ความเข้าใจ และเกิดการเรียนรู้เพิ่มขึ้น การเรียนรู้วิธีนี้อย่างต่อเนื่อง และต่้องทำอย่างสม่ำเสมอ เมื่อใช้กับนักศึกษาในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิด ทำให้นักศึกษามีการพัฒนาเกียวกับ self awareness มากขึ้น
การจัดการเรียนการสอนแบบ สะท้อนคิด (Reflective thinking) เมื่อใช้กับการสอนฝึกการสะท้อนคิด ทำให้ทราบว่า กลุ่มของนักศึกษา มีผลต่อกระบวนการแสดงความคิดเห็น กลุ่มที่มีจำนวนนักศึกษามากเกินไป นักศึกษาบางคนไม่สามารถแสดงความคิดเห็น หรือกล้าที่จะพูดคุยให้อาจารย์ผู้สอน หรือเพื่อนในกลุ่มได้ ดังนั้นคิดว่ากลุ่มที่มีจำนวนนักศึกษาที่เหมาะสม น่าจะไม่เกิน 8 คน ซึ่งสามารถใช้กระบวนการสะท้อนคิดได้อย่างเหมาะสม เต็มรูปแบบมากยิ่งขึ้น
การเรียนการสอนแบบสะท้อนคิดสามารถนำมาบูรณาการได้กับการสอนทุกเรื่อง ทำให้นักศึกษาได้ฝึกแสดงความคิดเห็น ได้รับรู้ความรู้สึกของเพื่อน การตั้งคำถามที่ดีให้กับนักเรียน การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ในเชิงบวกจะทำให้นักเรียนได้ฝึกสะท้อนคิด เปลี่ยนมุมมองในสิ่งต่างๆที่เรียนได้ซึ่งไปในแนวทางที่ดีมากขึ้น
การสะท้อนคิด (reflective thinking) เป็นกระบวนการคิดที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล เป็นการแสดงออกถึงความคาดหวัง ความรู้สึก ผ่านกระบวนการพูดหรือเขียน โดยมีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์ เปรียบเทียบ วางแผนและแก้ไขปัญหา ซึ่งจะทำให้นักศึกษาสามารถระบุปัญหา วิเคราะห์ปัญหา และหาทางเลือกแนวใหม่ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีเหตุผล ทำให้เกิดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสะท้อนคิด (reflective thinking) ไม่เพียงแต่จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน แต่ยังเป็นประโยชน์ ต่อการคิดหัวข้อวิจัย หรือโจทย์วิจัยในคลินิก หรือ การจัดการเรียนการอสอนที่ผ่านมาได้ ดังนั้น วิธีนี้จึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ช่วยให้อาจารย์ของเรา ไปผลิตผลงานได้
RSS feed สำหรับความเห็นต่อเรื่องนี้ TrackBack URI
Name (ต้องการ)
Mail (will not be published) (ต้องการ)
Website
สิ่งสำคัญของการจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด ไม่ใช่การรู้เพียงแค่หลักการการสะท้อนคิด แต่ควรมีการเชื่อมโยงจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติจริง เช่น การนิเทศภาคปฏิบัติ ผู้สอนและผู้เรียนควรมีการเตรียมตัวที่ถูกต้อง เพื่อให้การสะท้อนคิดมีความหมายและเกิดผลลัพธ์ในเชิงการพัฒนาต่อไป
การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Reflective thinking) สิ่งหนึ่งที่จะส่งเสริมให้เกิดการสะท้อนคิดอย่างจริงจัง มี 3 แบบ 1) content reflection : สะท้อนคิดสิ่งที่รับรู้ รู้สึกและทำ /What 2) Process reflection: สะท้อนคิดว่าเรารับรู้ รู้สึก และทำอย่างไร/ How 3) Premise reflection :สะท้อนคิดว่าทำไมเราจึงรับรู้ รู้สึกคิด และทำ/Why เพื่อเป็นการเชื่อมโยงไปสู่การคิดรวบยอดและสามารถนำมาสู่การปฏิบัติได้และทำให้เกิดผลการเปลี่ยนแปลงที่ดีได้
การสะท้อนคิด ที่นำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนนั้น สิ่งสำคัญคือ จะต้องกระตุ้นให้ผู้เรียนได้สะท้อนเหตุการณ์จากความคิดของตนเองอย่างเป็นระบบ ซึงการที่จะสะท้อนคิดได้ ผู้เรียนจะต้องมีการเปิดใจและฟังอย่างตั้งใจ ซึงการจัดการเรียนการสอนแบบนี้ เหมาะกับการเรียนในยุคปัจจุบัน ซึ่งสนับสนุนให้ผู้เรียนเป็นบุคคลที่กล้าคิด
การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Reflective thinking)ส่วนใหญ่นักศึกษาทราบขั้นตอนตามทฤษฤีแต่ยังไม่สามารถเลือกเหตุการณ์ที่เหมาะมาสะท้อนคิดได้อาจารย์สามารถช่วยกระตุ้นได้โดยการตั้งคำถามชวนคิด/ชวนมองเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นหรือพบระหว่างการเรียนการสอนและให้มีการอภิปรายแต่ละขั้นตอนซึ่งจะเป็นการช่วยพัฒนาการกล้าคิด มีการใช้เหตุผลและ การคิดอย่างเป็นระบบของนักศึกษา
การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Reflective thinking)ในปัจจุบันพบว่า
นศ.ส่วนใหญ่ทราบขั้นตอนการสะท้อนคิดแต่ยังเลือกประเด็นหรือเหตุการณ์มาสะท้อนคิดยังไม่เหมาะสมอาผู้สอนสามารถช่วยได้โดยการตั้งคำถามชวนคิด/ชวนมองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างการเรียนการสอนและให้ นศ.ได้อภิปรายตามลำดับขั้นตอนเพื่อเป็นการช่วยพัฒนาการกล้าคิด การใช้เหตุผลและการคิดอย่างเป็นระบบของนักศึกษา
ได้นำหลักการของการสะท้อนคิดไปใช้กับนักศึกษาขณะฝึกภาคปฏิบัติ พบว่า นักศึกษาสามารถระบุเรื่องราว บอกเล่าความรู้สึกของตนเองได้ หากแต่ยังขาดทักษะในการคิดเชื่อมโยง แยกแยะบางประเด็นที่เกี่ยวข้องได้ ซึ่งตนเองคิดว่าอาจารย์ผู้สอนจะต้องมีเทคนิควิธีที่จะช่วยกระตุ้นโดยการใช้คำถามชวนคิด ชวนมองอย่างรอบด้านเพื่อเป็นฝึกให้นักศึกษาได้มีการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างเป็นระบบต่อไป (อ.วาสนา ครุฑเมือง)
การเรียนการสอนด้วยวิธีสะท้อนคิดเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับนักศึกษาเพราะนักศึกษาสามารถนำความรู้ความเข้าใจนี้ไปใช้ในการเรียนในวิชาอื่นๆโดยเฉพาะการพยาบาลต่างๆและสามารถนำความรู้ความเข้าใจนี้ไปใช้ได้กับสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันได้
การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Reflective thinking) เป็นการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้เกิดการสะท้อนคิด ผู้สอนจะต้องกระตุ้นให้ผู้เรียนได้สะท้อนเหตุการณ์จากความคิดของตนเองอย่างเป็นระบบ โดยแต่ละขั้นตอนจะช่วยพัฒนาการความกล้าคิด การใช้เหตุผลและการคิดอย่างเป็นระบบของนักศึกษาอย่างแท้จริง
การจัดการเรียนการสอนแบบ สะท้อนคิด (Reflective thinking) ได้นำไปใช้กับนักศึกษา เป็นการส่งเสริมให้นักศึกษาได้ฝึกกระบวนการคิดที่ดี แต่ขั้นที่ 2 การอธิบายความรู้ บางครั้งผู้เรียนยังแยกแยะไม่ออกระหว่างความคิด กับความรู้สึกต่อมีต่อสถานการณ์นั้น ทั้งด้านบวกและลบ
การเรียนรู้แบบสะท้อนคิดเป็นสิ่งที่ดีเพราะจะทำให้ผู้เรียนมีการคิดแบบเป็นขั้นตอนมีการตัดสินใจอย่างมาเหตุผลและครอบคลุมฉะนั้นการจัดการเรียนรู้แลบนี้ผู้เรียนและผู้สอนควรมรการเปิดใจเพื่อการเรียนรู้แบบใหม่และจีดบรรยากาศเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกระบวนการคิดของผู้เรียนอบ่างเป็นธรรมนติ
การจัดการเรียนการสอนแบบ สะท้อนคิด (Reflective thinking) ได้นำไปใช้กับนักศึกษา ในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิต พบว่า สามารถทำให้นักศึกษาเกิดกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาน มากขึ้น สร้างความมั่นใจในการฝึกงานให้กับนักศึกาษา
การสะท้อนความคิด (Reflection) ต้องใช้กระบวนการทางปัญญาและทัศนคติ การทบทวนประสบการณ์ที่ได้พบ ได้เห็น และได้ฟังมา เพื่อเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ รวมทั้งเป็นการสำรวจตนเอง เพื่อค้นหาว่าตนเองรู้และไม่รู้อะไร จนนำไปสู่ความเข้าใจ และเกิดการเรียนรู้เพิ่มขึ้น การเรียนรู้วิธีนี้อย่างต่อเนื่อง และต่้องทำอย่างสม่ำเสมอ เมื่อใช้กับนักศึกษาในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิด ทำให้นักศึกษามีการพัฒนาเกียวกับ self awareness มากขึ้น
การจัดการเรียนการสอนแบบ สะท้อนคิด (Reflective thinking) เมื่อใช้กับการสอนฝึกการสะท้อนคิด ทำให้ทราบว่า กลุ่มของนักศึกษา มีผลต่อกระบวนการแสดงความคิดเห็น กลุ่มที่มีจำนวนนักศึกษามากเกินไป นักศึกษาบางคนไม่สามารถแสดงความคิดเห็น หรือกล้าที่จะพูดคุยให้อาจารย์ผู้สอน หรือเพื่อนในกลุ่มได้ ดังนั้นคิดว่ากลุ่มที่มีจำนวนนักศึกษาที่เหมาะสม น่าจะไม่เกิน 8 คน ซึ่งสามารถใช้กระบวนการสะท้อนคิดได้อย่างเหมาะสม เต็มรูปแบบมากยิ่งขึ้น
การเรียนการสอนแบบสะท้อนคิดสามารถนำมาบูรณาการได้กับการสอนทุกเรื่อง ทำให้นักศึกษาได้ฝึกแสดงความคิดเห็น ได้รับรู้ความรู้สึกของเพื่อน การตั้งคำถามที่ดีให้กับนักเรียน การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ในเชิงบวกจะทำให้นักเรียนได้ฝึกสะท้อนคิด เปลี่ยนมุมมองในสิ่งต่างๆที่เรียนได้ซึ่งไปในแนวทางที่ดีมากขึ้น
การสะท้อนคิด (reflective thinking) เป็นกระบวนการคิดที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล เป็นการแสดงออกถึงความคาดหวัง ความรู้สึก ผ่านกระบวนการพูดหรือเขียน โดยมีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์ เปรียบเทียบ วางแผนและแก้ไขปัญหา ซึ่งจะทำให้นักศึกษาสามารถระบุปัญหา วิเคราะห์ปัญหา และหาทางเลือกแนวใหม่ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีเหตุผล ทำให้เกิดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสะท้อนคิด (reflective thinking) ไม่เพียงแต่จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน แต่ยังเป็นประโยชน์ ต่อการคิดหัวข้อวิจัย หรือโจทย์วิจัยในคลินิก หรือ การจัดการเรียนการอสอนที่ผ่านมาได้ ดังนั้น วิธีนี้จึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ช่วยให้อาจารย์ของเรา ไปผลิตผลงานได้