วันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๖ เวลา ๑๓.๐๐ ? ๑๖.๓๐น.

ณ ห้องประชุมพวงชมพู วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์

รายชื่อผู้เข้าร่วมการประชุม

๑.นางศรีสมพร ??????????? ทรวงแก้ว???????? ประธาน

๒.นางศศิธร ?????????????? ชิดนายี

๓.นางนิศารัตน์ ?????????? นาคทั่ง

๔.นางอนัญญา???????????? คูอาริยะกุล

๕.นางสุธีรา??????????????? งามวาสีนนท์

๖.นางมณฑา?????????????? อุดมเลิศ

๗.นางสาววราภรณ์??????? ยศทวี

๘.นางสาวเสาวลักษณ์???? เนตรชัง

๙.นายไพทูรย์????????????? มาผิว

๑๐.นางวาสนา???????????? ครุฑเมือง

๑๑.นางสาวนัยนา???????? แก้วคง

๑๒.นายสืบตระกูล???????? ตันตลานุกุล

๑๓.นายเสน่ห์????????????? ขุนแก้ว

๑๔.นางอรุณรัตน์????????? พรมมา

๑๕.นางสาวอลิษา???????? ทรัพย์สังข์

๑๖.นางจิราพร???????????? ศรีพลากิจ

๑๗.นายวีระยุทธ?????????? อินพะเนา

๑๘.นายภราดร??????????? ล้อธรรมมา ????? เลขานุการที่ประชุม

ผู้เข้าร่วมประชุมคิดเป็นร้อยละ???? ๙๔.๗๓%

ระเบียบวาระที่ ๑ แลกเปลี่ยนเรียนรู้

????????? แนวการปฏิบัติที่ดี การบูรณาการการเรียนการสอนภาคปฏิบัติการพยาบาลกับการสร้างเสริมสุขภาพ ความรู้จากการปฏิบัติจริง

????????? คุณเรวัตร รัตนมาโต ให้ความคิดเห็นว่าการบูรณาการการเรียนการสอนภาคปฏิบัติการพยาบาลกับการสร้างเสริมสุขภาพ จากการปฏิบัติจริงมี

ข้อดีคือ ?

๑.ประชาชนในชุมชนสามารถเข้าถึงบริการทางสุขภาพได้มากขึ้นแม้เป็นเวทีจำลองการฝึกปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพของนักศึกษา

????????? ๒.เป็นการลดค่าใช้จ่ายของประชาชนในชุมชนในการเดินทางหรือค่าใช้จ่ายในการักษาพยาบาล

????????? ๓.ผู้ป่วยและครอบครัวได้รับความรู้พื้นฐานทางการพยาบาลจากผู้ที่มีความรู้จริง

????????? ๔.ประชาชนในชุมชนเกิดความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีในการสร้างเสริมสุขภาพ

????????? ๕.ประชาชนในชุมชนเกิดความสบายใจ เกิดความอุ่นใจเมี่อมีนักศึกษาเข้าไปฝีกปฏิบัติงานดีกว่าการเข้ารับบริการในโรงพยาบาลที่มีระบบสานพานซึ่งมุ่งให้การรักษาอย่างเดียวไม่มีเวลาพูดคุยทำความรู้จักกันกับแพทย์หรือพยาบาลที่ให้บริการ

????????? ๖.เกิดระบบที่ดีในระบบสาธารณสุขเนื่องจากระบบการรักษาเดิมที่โรงพยาบาลส่งผลให้บุคลากรเกิดความเครียด ผู้รับบริการก็เกิดความเครียดต้องเร่งรีบในการให้บริการแข่งกับเวลา

????????? ๗.การทำงานในชุมชนเกิดมิติใหม่ เกิดมุมมองทางบวกของแพทย์และพยาบาลเพิ่มมากขึ้น

อุปสรรค์

๑.????? ความสม่ำเสมอในการลงชุมชนถ้ามาครั้งเดียวจะไม่น่าเชื่อถือ

๒.????? เกิดอุปสรรค์ต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยและญาติที่คอยกังวลว่าพยาบาลจะมาเยี่ยมกี่โมง ต้องรอหมออยู่ที่บ้าน

๓.????? การไม่ให้ความร่วมมือของผู้ป่วย

๔.????? การสร้างเสริมสุขภาพโดยใช้นวัตกรรมไม่ตรงตามความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัวอาจเพราะถูกจัดงบประมาณในการพัฒนานวัตกรรม

๕.????? การให้คำแนะนำทางด้านสุขภาพเบื้องต้นกับประชาชนในชุมชน เนื่องจากพื้นฐานความรู้ของนักศึกษา พยาบาลชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขแตกต่างกันทำให้อาสาสัครสาธารณสุขต้องพัฒนาด้านความรู้เพิ่มมากขึ้นเพื่อให้คำแนะนำแก่คนในชุมชนได้อย่างเหมาะสม

๖.????? ผู้ป่วยเกิดความเคยชินกับนักศึกษาพยาบาลและไม่อยากรับบริการจากเจ้าหน้าที่ทางด้านสุขภาพและอาสาสมัครสาธารณสุข

สิ่งที่อยากได้จากการบูรณาการ

????????? ๑.ปฏิทินการลงเยี่ยมหมู่บ้าน ของนักศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบล อาสาสมัครสาธารณสุข พยาบาลที่สอดผสานกัน

????????? ๒.การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขด้านคอมพิวเตอร์และภาษาอังกฤษ

????????? ๓.การพัฒนาภูมิปัญญาของคนในชุมชนเป็นนวัตกรรมอาจเป็นในรูปแบบจิตวิทยา ธรรมะ เช่น รูปภาพสร้างความสะเทือนใจเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองเป็นต้น

พยาบาลชุมชน หึความคิดเห็นว่า สิ่งที่ควรพัฒนาจากการบูรณาการการเรียนการสอนภาคปฏิบัติการพยาบาลกับการสร้างเสริมสุขภาพ ความรู้จากการปฏิบัติจริง คือ

????????? ๑.การเตรียมแผนงาน การเตรียมตัว การเรียนรู้กรณีศึกษาก่อนปฏิบัติการพยาบาล

????????? ๒.การกำหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนในการมุ่งศึกษากรณีศึกษารายกรณีเพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้เรื่องโรคได้อย่างชัดเจน

????????? ๓.การพัฒนาการทำงานที่ต่อยอดกัน

????????? ๔.การประเมินภาวะสุขภาพผู้ป่วยอย่างน้อย 1 ครั้งก่อนวางแผนให้การพยาบาล

นักศึกษา ให้ความคิดเห็นว่าสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการบูรณาการการเรียนการสอนภาคปฏิบัติการพยาบาลกับการสร้างเสริมสุขภาพ คือ

๑.ได้เรียนรู้เพิ่มเติมจากเนื้อหารายวิชา เช่นผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเป็นโรคเบาหวาน ร่วมกับไขมันในเลือดสูง สามารถเกิดโรคไตวายได้ในระบบทางเดินปัสสาวะซึ่งเกี่ยวข้องกันเป็นต้น

๒.การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า

๓.เกิดการกระตุ้นศักยภาพจากการไปพบกรณีศึกษา ทำให้เราต้องเตรียมความรู้โดยการอ่านหนังสือ

๔.ได้เครือข่ายการร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ในชุมชน พี่ อ.ส.ม. และพี่พยาบาล เป็นต้น

๕.ได้เรียนรู้วิธีการสร้างเสริมสุขภาพโดยการประเมินความรู้พื้นฐานของผู้ป่วยก่อนให้ความรู้กรณีศึกษาเพื่อไม่เป็นการยัดเยียดผู้ป่วย

๖.ฝึกทักษะการส่งต่อผู้ป่วยกับอ.ส.ม. และ พี่พยาบาล การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับอาจารย์ และเพื่อนๆ การได้พบกรณีศึกษาทำให้เข้าใจบริบทความเป็นมนุษย์และเรียนรู้การดูแลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์จากการฝึกปฏิบัติจริง

- เกิดประโยชน์อย่างไรกับนักศึกษาและคนในชุมชน

????????? ๑.นักศึกษาเกิดความคิดสร้างสรรค์ในการให้การพยาบาลประชาชนในชุมชน

????????? ๒.ได้เรียนรู้การปรับเปลี่ยนแผนการพยาบาล การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า

????????? ๓.ได้เครือข่ายการทำงานร่วมกันระหว่าง นักศึกษา อ.ส.ม. และเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพ โดยนักศึกษาเป็นแรงกระตุ้นให้ทุกภาคส่วนเกิดการตื่นตัวในการสร้างเสริมสุขภาพ

????????? ๔.เกิดแรงบันดาลใจให้นักศึกษาในการดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ จากการได้เรียนรู้วิถีวชีวิต ความเชื่อของผู้คน และจิตวิญญาณ

????????? ๕.เรียนรู้การประเมินสภาพผู้ป่วยว่าควรประเมินจากสภาพจริงบางครั้งข้อมูลจากแฟ้มประวัติอาจไม่ตรงกับความเป็นจริง

????????? ๖.เกิดการเรียนรู้จากการทางไกลเข้าไปในชุมชนทำให้ทราบว่าผู้ป่วยมีความยากลำบากในการเดินทางมาโรงพยาบาล

- การบูรณาการควรมีต่อไปหรือไม่ และมีอุปสรรค์อะไร

????????? ๑.ควรมีต่อไปแต่ให้เพิ่มระยะเวลาในการเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินสภาพผู้ป่วยก่อน ๑ ครั้งเพื่อกลับมาวางแผนให้การพยาบาลผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม

????????? ๒.ควรมีการจัดกลุ่มนักศึกษาให้มีจำนวน กลุ่มละ ๗ คน ๑๑ กลุ่มเพื่อง่ายในการมอบหมายงานได้อย่างทั่วถึง

แนวทางการการบูรณาการการเรียนการสอนภาคปฏิบัติการพยาบาลกับการสร้างเสริมสุขภาพ

๑.นักศึกษาต้องมีความรู้เป็นพื้นฐาน

๒.นักศึกษาต้องมีสมรรถนะ ในการสร้างสัมพันธภาพและการติดต่อสื่อสาร

๓.ทักษะการทำงานเป็นทีม การวางแผนที่ดีจะส่งผลต่อาการทำงานที่เกิดความสำเร็จ

?ปิดประชุมเวลา ๑๖.๓๐น.

………………………………

????????????????????????????????????????????????????????????????? (นายภราดร ล้อธรรมมา)

?????????????????????????? ผู้บันทึกการประชุม

?

???????????.

(นายไพทูรย์ มาผิว)

ผู้ตรวจรายงานการประชุม