KM แนวทางจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผลการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพของภาควิชาการพยาบาลอนามัยชุมชนและจิตเวช
อาจารย์ต้อง ดูแลนักศึกษา ที่GPA น้อยเป็นพิเศษ? เพราะจากการติดตามนักศึกษา ที่สอบไม่ผ่าน มักจะเป็นคนที่ GPA น้อยๆ? และต้องกระตุ็นให้เด็ก เห็นความสำคัญทุก รายวิชา เพราะมีบางคนเลือกที่ขอผ่านเป็นบางวิชา วิชาในไม่แน่ใจ นํกศึกษา อาจไม่ทบทวนเรืองนั้น
เห็นด้วยกับอาจารย์บุญฤทธิ์ค่ะ? และมีข้อเสนอแนะจากนักศึกษาว่าเมื่อสอบแล้วอยากให้อาจารย์อธิบายแนวคิดในข้อสอบเพื่อให้นักศึกษาได้มีความเข้าใจใน concept มากขึ้นด้วย
เห็นด้วยกับ P. Jojo ครับ การที่อธิบาย concept เป็นการทำให้ นักศึกษาเกิดกระบวนการคิดและวิเคราะห์ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และปรับมุมมองในเรื่องของกระบวนการคิดที่ทำให้นักศึกษาสนใจ ในการทบทวนเนื้อหามากขึ้น
เห็นด้วยกับ JOJO และ ขวัญข้าว และควรเพิ่มการให้นักศึกษาได้เขียน? concept mapping ในสาระ/เนื้อหานั้นๆเพราะจะทำให้นักศึกษาได้เกิดการตกผลึกด้วยตนเอง ทั้งการวิเคราะห์และการคิดเชิงเหตุผล เชื่อมโยงความรู้ได้ เมื่อเจอสถานการณืหรือโจทย์อื่นๆ ก็สามารถหาคำตอบได้โดยใช้หลักการคิดเชื่อมโยง
ก่อนที่จะเริ่มการติว ควรมีการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจให้นักศึกษาเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองในการสอบขึ้นทะเบียน และจัดกิจกรรมต่างๆร่วมกีนทั้งนักศึกษาและอาจารย์ และขอให้ทุกภาควิชามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมต่างๆ ก่อนที่จะมีการติว และหากเป็นไปได้ความจัดนอกสถานที่ค่ะ
อยากให้มีการเตรียมความพร้อมเรื่องการสอบให้กับนักศึกษาหลังเรียนทฤษฎีจบช่วง summer ปี 3 เพื่อให้นักศึกษาได้ประเมินตนเองว่ามีความรู้ระดับใด และในช่วงฝึกภาคปฏิบัติ ปี 4 จะได้วางแผนการทบทวนความรู้ในแต่ละวิชาได้ ?ซึ่งคะแนนสอบสามารถแยกได้ว่านักศึกษาไม่ผ่านวัตถุประสงค์ใด อาจารย์ผู้นิเทศก็จะได้วางแผนการติวให้กับนักศึกษากลุ่มที่ตนเองนิเทศได้
เห็นด้วยกับการ Empowerment นักศึกษาก่อนการสอบขึ้นทะเบียน แต่การที่จะทำให้นักศึกษาเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองนั้น ควรกระทำตั้งแต่ ปี 2,3 และ 4 ซึ่งเชื่อว่าถ้านักศึกษามีความเชื่อมั่นในความสามารถตั้งแต่แรกๆ จะเป็นส่วนช่วยให้นักศึกษาตื่นตัวและเป็นการกระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจในการสอบผ่านได้มากค่ะ
การจัดทบทวนโดยอาจารย์ภายใน ช่วยได้มากในการติวกลุ่มเล็กได้แชร์ความรู้ร่วมกันได้คำตอบชัดเจนมากขึ้น แนะนำนักศึกษาได้ตรงประเด็นกับนักศึกษาแต่ละคนการจับคู่ Buddy?แบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่มเก่ง-อ่อน การติวซ้ำๆ ทำให้จำได้มากขึ้น อาจารย์สอนคนเดียว แนวคิดตรงกัน ทำให้มีเทคนิคการจำมากกว่าอาจารย์ภายนอก สามารถนัดนักศึกษานอกเวลาได้ เข้มงวด เอาใจใส่ เวลานักศึกษาไม่เข้าใจสามารถถามได้เลย
อาจารย์ควรเปิดประเด็นให้นักศึกษามีส่วนร่วม เชื่อมโยงเนื้อหาการสอน เจาะประเด็นและแม่นในเนื้อหา? การทำข้อสอบเสมือน ช่วยให้นักศึกษาได้วิเคราะห์ รู้จุดอ่อนของตน ส่วนที่ต้องค้นคว้าเพิ่มเติม ทำให้มีกระบวนการคิดมากขึ้น ได้ประเด็นในการคิดมากขึ้น และรู้แนวในการถามและการตอบมากขึ้น เป็นการฝึกทำของนักศึกษา
การจัดทบทวนโดยอาจารย์ภายใน ช่วยได้มากในการติวกลุ่มเล็กได้แชร์ความรู้ร่วมกันได้คำตอบชัดเจนมากขึ้น แนะนำนักศึกษาได้ตรงประเด็นกับนักศึกษาแต่ละคนการจับคู่ Buddy?แบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่มเก่ง-อ่อน การติวซ้ำๆ ทำให้จำได้มากขึ้น อาจารย์สอนคนเดียว แนวคิดตรงกัน ทำให้มีเทคนิคการจำมากกว่าอาจารย์ภายนอก สามารถนัดนักศึกษานอกเวลาได้ เข้มงวด เอาใจใส่ เวลานักศึกษาไม่เข้าใจสามารถถามได้เลย ? ?
? การเชิญบุคคลภายนอกร่วมสอนแช่นผู้เชี่ยวชาญในงานการให้คำปรึกษา คนไข้ ญาติ น่าจะลองจัดให้นักศึกษาได้รับประการณ์ตรงอย่างนี้บ้าง บางหัวข้อก็น่าจะดี
การจัดประสบการณ์ให้นักศึกษาได้คิดวิเคราะห์ ตีความ สรุปลงสู่แนวคิดและหลักการในแต่ละประเด็นของการเรียนรู้ทั้งประเด็นหลักของรายวิชาและประเด็นย่อยในแต่ละหัวข้อย่อยเป็นวิธีการที่ผู้สอนควรได้ตระหนักและออกแบบการจัดการเรียนรู้ของตนให้เกิดผลดังกล่าว?
ในฐานะของอาจารย์น้องใหม่ ที่เพิ่งผ่านประสบการณ์ในเรื่องของการสอบใบประกอบวิชาชีพ และผ่านการจัดการเรียนการสอนมาน่ะคับ มีความคิดเห็นว่าการทบทวนต้องสรุปเป็น Concept ที่สำคัญๆ และทำควบคู่กับตัวอย่างข้อสอบ เป็นหัวข้อในแต่ล่ะเนื้อหาคับ และการสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักศึกษาก็สำคัญมากๆคับ เพราะการให้กำลังใจกับนักศึกษาจะทำให้มีกำลังใจขึ้นมากๆคับ เช่น นักศึกษาทำข้อสอบได้คะแนนมาก ก็น่าจะชมว่านักศึกษาเก่งบ้างก็ได้ แทนที่จะบอกว่า ข้อสอบง่ายอย่างเดียวคับ เล่าจากประสบการณ์ตนเองและเพื่อนๆในห้องรุ่น 25?เป็นเสียงสะท้อนมาคับ
การสร้าง? Empowerment ให้กับนักศึกษาเป็นแนวทางที่ดีครับ เห็นด้วยอย่างยิ่งเพราะจะทำให้ตัวนักสึกษามีความตั้งใจใร้ และมีเป้าหมายในการสอบให้ผ่าน ต่อไป
การติวภายในถือว่าเป็นเรื่องที่ดีมากค่ะ? และหากมีวิทยากรด้านนอกมาร่วมด้วยยิ่งทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์มากยิ่งขึ้นคะ? อาจารย์ควรเสริมความมั่นใจให้นักศึกษาเพิ่มมากขึ้น และควรมีการทำ KM.ของแต่ละภาควิชามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันทั้งวิทยาลัยคะ น่าจะทำให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้นคะ
เป็นวิธีสร้างแรงจูงใจที่ดีคะ ทำให้นักศึกษาเกิดความมั่นใจในการสอบสภามากขึ้นคะ
ก็เป็นการสร้างแรงจูงใจที่ดีค่ะ แต่สิ่งสำคัญที่สุดคือ ความต้องการของนักศึกษา ควรจะมีการตกลงวางแผนร่วมกัน โดยมีตัวแทนของนักศึกษาร่วมประชุมด้วย ว่าเขาต้องการติวแบบไหน ต้องการสิ่งสนับสนุนอะไรจากวิทยาลัย เพราะต้นทุนของนักศึกษาแต่ละคนไม่เท่ากันค่ะ การเรียนรู้ที่เกิดจากความเต็มใจ ย่อมจะทำให้เกิดการจดจำมากกว่าการเรียนโดยถูกป้อนให้อย่างเดียว
RSS feed สำหรับความเห็นต่อเรื่องนี้ TrackBack URI
Name (ต้องการ)
Mail (will not be published) (ต้องการ)
Website
อาจารย์ต้อง ดูแลนักศึกษา ที่GPA น้อยเป็นพิเศษ? เพราะจากการติดตามนักศึกษา ที่สอบไม่ผ่าน มักจะเป็นคนที่ GPA น้อยๆ? และต้องกระตุ็นให้เด็ก เห็นความสำคัญทุก รายวิชา เพราะมีบางคนเลือกที่ขอผ่านเป็นบางวิชา วิชาในไม่แน่ใจ นํกศึกษา อาจไม่ทบทวนเรืองนั้น
เห็นด้วยกับอาจารย์บุญฤทธิ์ค่ะ? และมีข้อเสนอแนะจากนักศึกษาว่าเมื่อสอบแล้วอยากให้อาจารย์อธิบายแนวคิดในข้อสอบเพื่อให้นักศึกษาได้มีความเข้าใจใน concept มากขึ้นด้วย
เห็นด้วยกับ P. Jojo ครับ การที่อธิบาย concept เป็นการทำให้ นักศึกษาเกิดกระบวนการคิดและวิเคราะห์ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และปรับมุมมองในเรื่องของกระบวนการคิดที่ทำให้นักศึกษาสนใจ ในการทบทวนเนื้อหามากขึ้น
เห็นด้วยกับ JOJO และ ขวัญข้าว และควรเพิ่มการให้นักศึกษาได้เขียน? concept mapping ในสาระ/เนื้อหานั้นๆเพราะจะทำให้นักศึกษาได้เกิดการตกผลึกด้วยตนเอง ทั้งการวิเคราะห์และการคิดเชิงเหตุผล เชื่อมโยงความรู้ได้ เมื่อเจอสถานการณืหรือโจทย์อื่นๆ ก็สามารถหาคำตอบได้โดยใช้หลักการคิดเชื่อมโยง
ก่อนที่จะเริ่มการติว ควรมีการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจให้นักศึกษาเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองในการสอบขึ้นทะเบียน และจัดกิจกรรมต่างๆร่วมกีนทั้งนักศึกษาและอาจารย์ และขอให้ทุกภาควิชามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมต่างๆ ก่อนที่จะมีการติว และหากเป็นไปได้ความจัดนอกสถานที่ค่ะ
อยากให้มีการเตรียมความพร้อมเรื่องการสอบให้กับนักศึกษาหลังเรียนทฤษฎีจบช่วง summer ปี 3 เพื่อให้นักศึกษาได้ประเมินตนเองว่ามีความรู้ระดับใด และในช่วงฝึกภาคปฏิบัติ ปี 4 จะได้วางแผนการทบทวนความรู้ในแต่ละวิชาได้ ?ซึ่งคะแนนสอบสามารถแยกได้ว่านักศึกษาไม่ผ่านวัตถุประสงค์ใด อาจารย์ผู้นิเทศก็จะได้วางแผนการติวให้กับนักศึกษากลุ่มที่ตนเองนิเทศได้
เห็นด้วยกับการ Empowerment นักศึกษาก่อนการสอบขึ้นทะเบียน แต่การที่จะทำให้นักศึกษาเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองนั้น ควรกระทำตั้งแต่ ปี 2,3 และ 4 ซึ่งเชื่อว่าถ้านักศึกษามีความเชื่อมั่นในความสามารถตั้งแต่แรกๆ จะเป็นส่วนช่วยให้นักศึกษาตื่นตัวและเป็นการกระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจในการสอบผ่านได้มากค่ะ
การจัดทบทวนโดยอาจารย์ภายใน ช่วยได้มากในการติวกลุ่มเล็กได้แชร์ความรู้ร่วมกันได้คำตอบชัดเจนมากขึ้น แนะนำนักศึกษาได้ตรงประเด็นกับนักศึกษาแต่ละคนการจับคู่ Buddy?แบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่มเก่ง-อ่อน การติวซ้ำๆ ทำให้จำได้มากขึ้น อาจารย์สอนคนเดียว แนวคิดตรงกัน ทำให้มีเทคนิคการจำมากกว่าอาจารย์ภายนอก สามารถนัดนักศึกษานอกเวลาได้ เข้มงวด เอาใจใส่ เวลานักศึกษาไม่เข้าใจสามารถถามได้เลย
อาจารย์ควรเปิดประเด็นให้นักศึกษามีส่วนร่วม เชื่อมโยงเนื้อหาการสอน เจาะประเด็นและแม่นในเนื้อหา? การทำข้อสอบเสมือน ช่วยให้นักศึกษาได้วิเคราะห์ รู้จุดอ่อนของตน ส่วนที่ต้องค้นคว้าเพิ่มเติม ทำให้มีกระบวนการคิดมากขึ้น ได้ประเด็นในการคิดมากขึ้น และรู้แนวในการถามและการตอบมากขึ้น เป็นการฝึกทำของนักศึกษา
การจัดทบทวนโดยอาจารย์ภายใน ช่วยได้มากในการติวกลุ่มเล็กได้แชร์ความรู้ร่วมกันได้คำตอบชัดเจนมากขึ้น แนะนำนักศึกษาได้ตรงประเด็นกับนักศึกษาแต่ละคนการจับคู่ Buddy?แบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่มเก่ง-อ่อน การติวซ้ำๆ ทำให้จำได้มากขึ้น อาจารย์สอนคนเดียว แนวคิดตรงกัน ทำให้มีเทคนิคการจำมากกว่าอาจารย์ภายนอก สามารถนัดนักศึกษานอกเวลาได้ เข้มงวด เอาใจใส่ เวลานักศึกษาไม่เข้าใจสามารถถามได้เลย
?
?
? การเชิญบุคคลภายนอกร่วมสอนแช่นผู้เชี่ยวชาญในงานการให้คำปรึกษา คนไข้ ญาติ น่าจะลองจัดให้นักศึกษาได้รับประการณ์ตรงอย่างนี้บ้าง บางหัวข้อก็น่าจะดี
การจัดประสบการณ์ให้นักศึกษาได้คิดวิเคราะห์ ตีความ สรุปลงสู่แนวคิดและหลักการในแต่ละประเด็นของการเรียนรู้ทั้งประเด็นหลักของรายวิชาและประเด็นย่อยในแต่ละหัวข้อย่อยเป็นวิธีการที่ผู้สอนควรได้ตระหนักและออกแบบการจัดการเรียนรู้ของตนให้เกิดผลดังกล่าว?
ในฐานะของอาจารย์น้องใหม่ ที่เพิ่งผ่านประสบการณ์ในเรื่องของการสอบใบประกอบวิชาชีพ และผ่านการจัดการเรียนการสอนมาน่ะคับ มีความคิดเห็นว่าการทบทวนต้องสรุปเป็น Concept ที่สำคัญๆ และทำควบคู่กับตัวอย่างข้อสอบ เป็นหัวข้อในแต่ล่ะเนื้อหาคับ และการสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักศึกษาก็สำคัญมากๆคับ เพราะการให้กำลังใจกับนักศึกษาจะทำให้มีกำลังใจขึ้นมากๆคับ เช่น นักศึกษาทำข้อสอบได้คะแนนมาก ก็น่าจะชมว่านักศึกษาเก่งบ้างก็ได้ แทนที่จะบอกว่า ข้อสอบง่ายอย่างเดียวคับ เล่าจากประสบการณ์ตนเองและเพื่อนๆในห้องรุ่น 25?เป็นเสียงสะท้อนมาคับ
การสร้าง? Empowerment ให้กับนักศึกษาเป็นแนวทางที่ดีครับ เห็นด้วยอย่างยิ่งเพราะจะทำให้ตัวนักสึกษามีความตั้งใจใร้ และมีเป้าหมายในการสอบให้ผ่าน ต่อไป
การติวภายในถือว่าเป็นเรื่องที่ดีมากค่ะ? และหากมีวิทยากรด้านนอกมาร่วมด้วยยิ่งทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์มากยิ่งขึ้นคะ? อาจารย์ควรเสริมความมั่นใจให้นักศึกษาเพิ่มมากขึ้น และควรมีการทำ KM.ของแต่ละภาควิชามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันทั้งวิทยาลัยคะ น่าจะทำให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้นคะ
เป็นวิธีสร้างแรงจูงใจที่ดีคะ ทำให้นักศึกษาเกิดความมั่นใจในการสอบสภามากขึ้นคะ
ก็เป็นการสร้างแรงจูงใจที่ดีค่ะ แต่สิ่งสำคัญที่สุดคือ ความต้องการของนักศึกษา ควรจะมีการตกลงวางแผนร่วมกัน โดยมีตัวแทนของนักศึกษาร่วมประชุมด้วย ว่าเขาต้องการติวแบบไหน ต้องการสิ่งสนับสนุนอะไรจากวิทยาลัย เพราะต้นทุนของนักศึกษาแต่ละคนไม่เท่ากันค่ะ การเรียนรู้ที่เกิดจากความเต็มใจ ย่อมจะทำให้เกิดการจดจำมากกว่าการเรียนโดยถูกป้อนให้อย่างเดียว