เชิญ ทุกท่าน แสดงความคิดเห็น เกี่ยวงานวิจัยการสร้างเสริมสุขภาพ
ทดสอบ BLOG
อยากได้แหล่งเรียนรู้ที่มีการ up date เกี่ยวกับกรอบแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ ยกตัวอย่างเช่น ตำรา วารสาร บทความ งานวิจัย
เตรียมพร้อมรับสังคมผู้สูงอายุด้วยการส่งเสริมสุขภาพ ??????????? ในขณะที่ภาวการณ์เจริญพันธ์ได้ลดลงอย่างรวดเร็ว คนไทยก็มีชีวิตที่ยินยาวขึ้นด้วย อายุคาดเฉลี่ยของประชากรไทยที่ยืนยาวไม่ถึง 60 ปี เมื่อ 50 ปีก่อน ได้เพิ่มสูงขึ้นเป็น 73 ปี ในปี พ.ศ. 2552 ภาวะเจริญพันธุ์ที่ลดลงและอายุที่ยืนยาวขึ้น ได้ทำให้โครงสร้างอายุของประเทศไทยเปลี่ยนไปอย่างมาก ด้วยอายุมัธยฐานอยู่ที่ 17 ปี เมื่อ 50 ปีก่อน ได้กลายเป็นประชากรสูงอายุที่มีอายุมัธยฐานสูงขึ้นถึง 32 ปี ในปี พ.ศ.2553? อาจกล่าวได้ว่าปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” โดยสมบูรณ์แล้ว ??????????? ผู้สูงอายุของเรากำหนดที่ 60 ปีขึ้นไป แต่องค์การอนามัยโลกกำหนด 65?ปี?เรามีพระราชบัญญัติสุขภาพผู้สูงอายุไทยปี 2546 ที่กำหนดไว้ว่า คนที่อายุเกิน 60 ปีขึ้นไป ถือว่าเป็นผู้สูงอายุ ในขณะนี้เรามีผู้สูงอายุที่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย และแบ่งเป็น 3 กลุ่ม วัยต้น วัยกลาง วัยปลาย หรือ Young old 60-69 ปี Medium old 70-79 ปี Old – old 80 ปี ขึ้นไป องค์การอนามัยโลกกำหนด สังคมผู้สูงอายุ มี 2 คำ คือ Aging society กับ Aged society เขาใช้ที่อายุเกิน 65 ขึ้นไป ถ้าประเทศใดมี 65 ขึ้นไป เกิน 7% ขึ้นไป ถือเป็น Aging society = กำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ แต่ถ้าอายุ 65 ปีขึ้นไปเกิน 14% คือ ประเทศที่เป็นสังคมผู้สูงอายุเต็มตัว ประเทศไทย เป็น Aging society ??????????? และการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุก็ไม่ได้มองว่า เจ็บป่วยหรือไม่? แต่มองว่า เขาสามารถพึ่งตัวเองได้หรือไม่ ผู้สูงอายุ 3 กลุ่ม?คือ?กลุ่มที่ 1?พึ่งตนเองได้ มีประมาณ 78% สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ ไปโน่นมานี่ได้ กลุ่มที่ 2?พึ่งตนเองได้บ้าง อยู่ในบ้านได้ ทำอะไรได้นิดหน่อย แต่ออกนอกบ้านต้องมีใครพาไป มีประมาณ 20% กลุ่มที่ 3?ต้องพึ่งคนอื่น อาจนอนติดเตียง อัมพาต มีประมาณ ?2% กลุ่มพึ่งตนเอง มีการใช้คำง่ายๆ ว่า “ติดสังคม” คือ ดูแลตัวเองได้ และช่วยเหลือคนอื่นได้ กลุ่มที่สอง “ติดบ้าน” ก็พอช่วยตนเองได้ แต่ออกข้างนอกลำบาก และกลุ่มที่สาม “ติดเตียง” หากมองในมุมการส่งเสริมสุขภาพ และการวางแผนอนาคตด้านสุขภาพ ในอนาคตเราต้องการผู้สูงอายุกลุ่มที่ ?1 (กลุ่มที่พึ่งตนเองได้) ทางเลือกในการพัฒนาคือ การลงทุนในการสร้างเสริมสุขภาพ โดยการดูแลสุขภาพตนเอง และหากโฟกัสมาที่สุขภาพช่องปากก็มองต่อว่า “คนที่มีอายุยืนยาว มีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง ฟันเป็นข้อหนึ่งเลย ถ้ามีฟันดีสมบูรณ์ จะทำให้อายุยืนยาว”
“กรมอนามัย ส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพดี” สิ่งที่จะส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพดีได้ ก็คือ Healthy People และ Healthy Environment ก็คือ พฤติกรรมตนเองดี และสภาพแวดล้อมดีด้วย 6 ยุทธศาสตร์ของกรมอนามัยที่เราขับเคลื่อน และเชื่อว่าจะส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพดี?ก็คือ ยุทธศาสตร์ ในกลุ่มแม่และเด็กเน้นการพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ในกลุ่มวัยรุ่น เป็นการลดปัจจัยเสี่ยงในวัยรุ่น และวัยทำงานตอนนี้เน้นที่ ลดปัญหาโรคอ้วนในคนไทย เพราะหากมีปัญหาโรคอ้วน ก็จะมีเบาหวาน ความดันโลหิตสูงต่างๆ ตามมา ทำให้เกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตต่างๆ ได้ ส่วนกลุ่มผู้สูงอายุ เน้นการส่งเสริมสุขภาพ และทางด้านสิ่งแวดล้อม มอง 2 เรื่อง คือ การทำให้ชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ และ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ??????????? การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ได้ทำพันธกิจที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กรมอนามัย? โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในกลุ่มผู้สูงอายุ ?6 กระบวนการที่สำคัญคือ การเฝ้าระวัง (Surveillance) ผ่านข้อมูล กองทันตสาธารณสุขจะมีการสำรวจข้อมูลทุก 5 ปี ทั้งพฤติกรรมสุขภาพและสถานะสุขภาพช่องปาก ข้อมูลชุดดังกล่าวส่งผลให้เกิดการวางแผนในการดำเนินการต่อเนื่อง ?จากการเฝ้าระวังผ่านข้อมูล จะเกิดคำถามการวิจัย (Research Question)นำไปสู่การวิจัยและพัฒนา(research and development) สร้าง Intervention เพื่อการแก้ไขปัญหา หรือเสริมศักยภาพเพื่อบรรลุในการแก้ไขปัญหา มีการควบคุมและประเมินผล (Monitor and Evaluation) ภารกิจหนึ่งที่สำคัญคือ การดูแลคุ้มครองผู้บริโภค (Customer protection)?? และ การสนับสนุนผู้ให้บริการ (Provider support)เช่นโรงพยาบาลและสถานีอนามัยในการพัฒนาทักษะถ่ายทอดองค์ความรู้ กระบวนการสุดท้ายที่มีผลต่อความยั่งยืนคือการเป็นพันธมิตร(Funder alliance)กับองค์กรที่มีงบประมาณ ไม่ว่าจะเป็น สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หรือ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ในแง่มุมของการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ก็สอดคล้องกับหลักการส่งเสริมสุขภาพนานาชาติ คือ สอดคล้องกับ Ottawa charter และ Bangkok charter ??????????? Ottawa charter ได้ให้แนวคิดการส่งเสริมสุขภาพแบ่งออกเป็น 5 แนวทางได้แก่ คุณต้องเพิ่มความสามารถของชุมชน คือ ชุมชนเข้มแข็ง ทันตสาธารณสุขอยากให้มีสุขภาพช่องปากดี ถ้าเราใช้ความสามารถของชุมชน ให้มีชุมชนเข้มแข็ง อย่างเช่น เราพยายามจะทำชมรมผู้สูงอายุให้เข้มแข็ง และช่วยกันดูแล เพราะว่าเรื่องของชุมชนจะส่งผล เขาจะมีมาตรการสังคมขึ้นมาในชุมชนนั้นๆ เช่น มีมาตรการ ห้ามกินหมาก และมีการพูดคุยกัน และก็จะส่งผลให้ไม่มีการกินหมากได้หรือไม่ ต้องพัฒนาทักษะของบุคคล? เช่น ผู้สูงอายุ เขาแปรงฟันได้ดีไหม ???แปรงฟันแล้ว สามารถทำความสะอาดฟันได้ดีจริงหรือเปล่า การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ?เช่น โรงเรียน หรือ ชมรม ชุมชนนั้นไม่มีน้ำอัดลม ถ้ามีน้ำอัดลม นมเปรี้ยวที่หวาน เด็กกินแล้วก็ยังฟันผุ ก็จะส่งผล ปรับระบบบริการ เช่น การทำ sealant หรือ ฟลูออไรด์วาร์นิชในผู้สูงอายุ หรือขูดหินน้ำลาย สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ?… มีเรื่องอะไรบ้างในชุมชนที่จะยกระดับเป็นวาระร่วมของชุมชน เป็นความเห็นพ้องร่วมของชุมชน ????? และมุมมองต่อ Bangkok charter กองทันตสาธารณสุข ก็ต้องไปให้ถึง จากคำย่อ PIRAB หรือ PBAIR กล่าวคือ P = Partnerคือ ร่วมกันทำ ตอนนี้ทำคนเดียวไม่ไหว ต้องมีทุนทางสังคมมาช่วยกัน ก็คือ มีพวกเยอะ เช่น กรมอนามัยต้องชวนพวกเรามาช่วยกันทำ ไม่มีทางที่กรมอนามัยทำอยู่พวกเดียว เราเอง ชุมชนก็ต้องไปอาศัยชมรมผู้สูงอายุ ท้องถิ่น อปท. ต่างๆ B= Building capacity พัฒนาศักยภาพ ทำอย่างไรให้เขามีความสามารถ รู้ว่า ต้องแปรงฟันอย่างไร ต้องดูแลอย่างไร หรือถ้าต้องใช้ไหมขัดฟัน ทำอย่างไรที่ให้มีทักษะ เราก็ต้องมีการไปพัฒนา A= Advocate เรื่องของไหมขัดฟัน อนาคตอาจจะได้ เพราะว่าตอนนี้ที่อีสานมีการใช้ไหมทำเป็นเส้น และเคลือบด้วย Wax ออกมาได้ดี ก็อาจจะดีกว่าพลาสติกที่เขาทำ จะนุ่มกว่า เพราะว่าทำด้วยใยไหมจริงๆ ถ้าทำตรงนี้ขึ้นมาได้ ก็เชื่อว่าราคาจะถูก และก็เป็นไปได้ที่จะให้ชาวบ้าน และนักเรียนได้ใช้ อนาคตคงจะเกิดขึ้น ถ้าเราพิสูจน์ได้ว่า อันนี้เป็นพฤติกรรมหลักที่จำเป็นต้องมี เพื่อที่จะป้องกันการสูญเสียฟัน ต้องรณรงค์เรื่องของการสร้างกระแสให้เขาสนใจได้อย่างไร ??????????? advocate ให้ผู้บริหารในทุกระดับ มีนโยบาย มีแผนงาน สนับสนุนงบประมาณ ได้อย่างไร สร้างกระแสให้ประชาชนเห็นความสำคัญในเรื่องนี้ได้อย่างไร R= Regulate การออกกฎหมายควบคุมต่างๆ อย่างของเราอาจไม่ชัด แต่มีเรื่องที่พยายามออกกฎหมายควบคุมเรื่องอาหาร ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หรือ โรงเรียนปลอดน้ำอัดลมต่างๆ I= Invest ก็คือ ต้องลงทุน เช่น ระบบบริการของเราต้องลงทุน ให้มีเครื่องมือต่างๆ หรือลงทุนให้มีระบบเฝ้าระวังต่างๆ ??????????? ดังนั้นการพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ก็ต้องเดินตามแนวคิดการส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ ทั้ง Ottawa charter และ Bangkok charter เพื่อแสวงหาความยั่งยืนในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาศักยภาพทั้งในระดับปัจเจก ระดับกลุ่มและเครือข่าย ??????????? ประเด็นในการส่งเสริมสุขภาพ ?ก็คือ ส่งเสริมสุขภาพ,รักษา และฟื้นฟู ?ในด้านการส่งเสริมสุขภาพเราจะทำอย่างไร จะเป็นการปฏิบัติตัวที่เอื้อให้เกิดสภาวะสุขภาพที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยความสุข? ส่วนในด้านกฎหมายกรมอนามัยผลักดันว่าให้เกิดประกาศกระทรวงฯเพื่อที่จะไปคุมผู้ที่จะมาดูแลผู้สูงอายุ เพื่อความปลอดภัยของผู้สูงอายุ ส่วนในเรื่องการสร้างกระแส เป็นส่วนสำคัญหากมองการรณรงค์เพื่อเสริมแรง เพื่อสร้างศักยภาพ และการเฝ้าระวัง จะเน้นการป้องกันการเกิดโรค? ??????????? แบบประเมินที่ดูว่าผู้สูงอายุมีสุขภาพดีหรือไม่ อย่างไร สามารถดูได้กิจวัตรประจำวันพื้นฐานของผู้สูงอายุ ที่เป็นกิจวัตรประจำวันที่ต้องดูแล หรือเรียกว่า ADL (Barthel Index of Activity of daily living)
Transfer (ลุกนั่งจากที่นอน หรือจากเตียงไปเก้าอี้) Mobility (การเคลื่อนที่ภายในห้องหรือในบ้าน) Toilet use (การใช้ห้องสุขา) Grooming (ล้างหน้า หวีผม แปรงฟัน โกนหนวด) Bladder (การกลั้นปัสสาวะ) Bowel (การกลั้นอุจจาระ) Bathing (การอาบน้ำ) Feeding (การรับประทานอาหาร) Dressing (การสวมใส่เสื้อผ้า) Stair (การขึ้นลงบันได 1 ขั้น)
???????????? ส่วน IADL : Barthel Index Instrumental of Activities of daily living เป็นการใช้เครื่องมือต่างๆ ด้วย ก็คือ
using telephone (การใช้โทรศัพท์เอง) communication (การเดินทางเอง โดยไม่ต้องใช้ความช่วยเหลือ) shopping for groceries (การเลือกซื้ออาหารเอง) preparing meal (การปรุงอาหารเอง อาจจะอุ่นไมโครเวฟ หรืออุ่นกับข้าว) light housework (การทำงานบ้านเบาๆ เช่น กวาดบ้าน ถูบ้านง่ายๆ) taking medication (การรับประทานยาด้วยตัวเอง) managing money (การจัดการเรื่องการเงิน)
??????????? สิ่งที่สำคัญอีกอย่างหนึ่ง ที่ควรจะต้องแนะนำผู้สูงอายุ คือ การตรวจสุขภาพประจำปี เป็นสิ่งที่เป็นสิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุอยู่แล้ว และท่านเองก็ควรจะได้รู้ว่าเป็นอะไรแต่เนิ่นๆ และการรู้แต่เนิ่นๆ ก็จะทำให้โรคนั้นไม่เป็นมาก ก็จะได้รักษาได้ ????????? ในด้านนโยบายการดูแลผู้สูงอายุ ก็คิดกันว่า ทำอย่างไรให้ผู้สูงอายุอยู่กับครอบครัวให้นานที่สุด ถ้าอยู่ไม่ได้ หรือต้องการผู้ดูแล รัฐจะต้องเข้าไปช่วยเหลือเกื้อกูลด้วย ผู้สูงอายุจะมี 3 กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่ง กลุ่มติดสังคม คือ กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้ ช่วยเหลือผู้อื่นและสังคม/ชุมชนได้ กลุ่มที่สอง กลุ่มติดบ้าน คือ กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้ แต่มีโรคเรื้อรัง อาจจะต้องมีคนพาไปโรงพยาบาล กลุ่มที่สาม กลุ่มติดเตียง คือ กลุ่มที่ป่วยและช่วยตัวเองไม่ได้ และพิการ /ทุพพลภาพ ??????????? ในส่วนเกณฑ์สำหรับ ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ?ก็คือ ผู้สูงอายุต้อง
มีสุขภาพดีทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม มีฟันที่ใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ โดยมีฟัน 4 คู่สบ มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ /หรือ รอบเอวอยู่ในเกณฑ์ปกติ ช่วยตนเองและผู้อื่นได้ตามอัตภาพ ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที
??????????? ในคราหนึ่ง ทพ.สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการกองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย ได้กล่าวเปิดในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานทันตสาธารณสุขในผู้สูงอายุในพื้นที่นำร่อง ทพ.สุธา ได้เกริ่นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากโดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ ว่า ??????????? “กองทันตสาธารณสุขยินดีที่พวกเราจะได้มานั่งพูดคุยกัน ในเรื่องที่จะเป็นประโยชน์มากมากในอนาคตไม่ใกล้ไม่ไกล ก็คือ เรื่องของผู้สูงอายุ ซึ่งเรื่องของผู้สูงอายุก็เป็นเรื่องที่ลูกๆ หลานๆ และรุ่นเด็กๆ พึงให้ความเคารพ ให้ความช่วยเหลือเกื้อกูล เพราะว่าผู้สูงอายุล้วนได้ทำงานที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชน แก่ประเทศชาติมานาน อย่างน้อยๆ ก็คิดว่า กว่าจะอายุ 60 ปี ถ้าเขาทำงานตั้งแต่อายุ 20 เขาก็ทำงานมาแล้วกว่า 40 ปี ที่ทำงานให้กับประเทศชาติ ให้กับชุมชน หรือให้กับตัวเอง ก่อร่างสร้างตัว สร้างสังคม เป็นหมู่บ้าน เป็นอำเภอ เรื่องของการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ จะเป็นอีกองค์ประกอบหนึ่ง ที่จะทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพ ทั้งทางกาย ทางจิต และเรื่องของการเข้าสังคมได้อย่างปกติสุข” ??????????? การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องสุขภาพและสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ เป็นกิจกรรมหนึ่งในโครงการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ โดยชมรมผู้สูงอายุ สืบเนื่องจากการที่ประเทศไทยได้เข้าสู่ภาวะประชากรผู้สูงอายุ สัดส่วนผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มีแนวโน้มจะเพิ่มจาก 7 ?ล้านคน (ปี 2550) เป็น 2 เท่า?ในอีก 18 ปีข้างหน้า ทุกภาคส่วนจึงมีการเตรียมการเพื่อรองรับสถานการณ์ดังกล่าว เพื่อให้ผู้สูงอายุ อยู่อย่างมีสุขภาพ มีคุณภาพ และมีศักดิ์ศรีในด้านสุขภาพช่องปากพบว่าปัญหาของผู้สูงอายุที่สำคัญก็คือปัญหาการสูญเสียฟันจนไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ ซึ่งเป็นผลลัพธ์สุดท้ายของโรคฟันผุ โรคปริทันต์ รากฟันผุ ที่สะสม มาตั้งแต่วัยเด็กจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สูงอายุต้องได้รับการดูแลทั้งด้านการป้องกัน รักษาร่วมกับการดูแลอนามัยช่องปากตนเองอย่างเหมาะสม ??????????? จากกระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อเดือนเมษายน 2547 ความว่า “เวลาไม่มีฟัน กินอะไรก็ไม่อร่อย ทำให้ไม่มีความสุข จิตใจก็ไม่สบาย ร่างกายก็ไม่แข็งแรง” แสดงให้เห็นผลกระทบของการสูญเสียฟัน ต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจอย่างชัดเจน กรมอนามัยได้น้อมนำมายึดถือเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาการสูญเสียฟันของผู้สูงอายุที่สูญเสียฟัน ในโครงการฟันเทียมพระราชทาน เพื่อใส่ฟันเทียมให้แก่ผู้สูงอายุทั่วประเทศตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นมา และเตรียมการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวาระมหามงคล 84 พรรษา ในปี 2554 ด้วยการใส่ฟันเทียมแก่ผู้สูงอายุต่อเนื่องปีละ 30,000 ราย รวมทั้งมีกิจกรรมเพื่อการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองของผู้สูงอายุ 1 ชมรม 1 อำเภอ ??????????? 3 ปีที่ผ่านมานับตั้งแต่ปี พ.ศ.2551 กรมอนามัยมีการพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากในชมรมผู้สูงอายุ 37 จังหวัด 120 ชมรม เกิดรูปแบบการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่หลากหลาย เพื่อการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองของผู้สูงอายุ จากการร่วมคิด ร่วมทำกันเองในชมรม และได้รับการสนับสนุนจากบุคลากรสาธารณสุข รวมทั้งภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ??????????? รูปธรรมความสำเร็จที่เห็นนี้ ไม่ใช่เรื่องที่เกิดขึ้นจากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง แต่เกิดจากการมีส่วนร่วมของทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง ปัจจัยแห่งความสำเร็จมาจาก 3 ส่วนด้วยกัน ได้แก่
ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการตั้งแต่เริ่มต้น ทั้งผู้สูงอายุ วัด องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีอนามัย และโรงพยาบาลชุมชน มีการสนับสนุนต่างๆ เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจให้เกิดการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง การทำงานเป็นทีมของภาครัฐ ทั้งทันตบุคลากร เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ซึ่งมีความเข้าใจและเชื่อมั่นในงานส่งเสริมสุขภาพ มีวิสัยทัศน์ มีศักยภาพ และสัมพันธภาพที่ดีกับชุมชน การสนับสนุนด้านวิชาการ การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ภาคีเครือข่าย โดย กรมอนามัย ทั้ง กองทันตสาธารณสุข สำนักส่งเสริมสุขภาพ และศูนย์อนามัย
รายงานการประชุม วันพุธที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ณ ห้องประชุมบานชื่น ??????????????????????? ? ?ผู้เข้าประชุมกลุ่ม KM วิจัย 1.?????? อ.ไพทูรย์? ??????????????????? มาผิว????????????????????????????????????? ประธาน 2.?????? อ. ศศิธร? ????????????????????? ชิดนายี 3.?????? อ.ดร. วรรณวดี ?????????? เนียมสกุล 4.?????? อ.พรรณพิไล? ???????????? สุทธนะ 5.?????? อ.อรทัย ??????????????????????? แซ่ตั้ง? ?????????????????????????????????? เลขานุการ เริ่มประชุม 9.30 น. ? ระเบียบวาะระที่ 1 เรื่องแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ??????????????? อ.ไพทูรย์ แจ้งให้ทราบว่า การทำKM วิจัย? ภายใต้ประสบการณ์วิจัยของวิทยาลัยพบว่ามีอาจารย์ทำวิจัยเรื่องการส่งเสริมสุขภาพหลายคน?? และการทำวิจัยหลากหลายกลุ่มไม่ว่าจะเป็นกลุ่มวัยรุ่น? กลุ่มสูงอายุ กลุ่มวัยเด็ก ซึ่งมีจำนวนหลายเรื่อง แต่ยังไม่มีการจัดทำเป็นระบบ? หรือยังไม่มีการจัดเวทีพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อรวมกันรวบรวมวิเคราะห์จึงได้จัดกิจกรรมขึ้นเพื่อจัดการความรู้ด้านการวิจัยของคนในองค์กรณ์? 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมที่? 1 การแสงหาความรู้? กิจกรรมที่ 2 การวิเคราะห์ความรู้? กิจกรรมที่ 3 การสังเคราะห์ความรู้ หลังจบกิจกรรมทั้ง 3 จะมีการติดตามผลการประเมินและนำผลมาพัฒนาการจัดการความรู้ต่อไป? ขอเชิญอาจารย์ทุกท่านร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เพื่อแสวงหาความรู้ร่วมกัน ในประเด็นการพัฒนาศักยภาพอาจารย์เพื่อการส่งเสริมสุขภาพภายใต้ประสบการณ์การทำวิจัย ? ระเบียบวาระที่ 2 การแสวงหาความรู้ ??????????????? อ. ดร.วรรณวดี? ให้ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยเรื่องการส่งเสริมสุขภาพที่พบในต่างประเทศ พบว่าเน้นความสำคัญในการจัดสิ่งแวดล้อมในการทำงาน การอยู่อาศัยโดยใช้งานวิจัยเป็นฐานในการจัดสิ่งแวดล้อม? ไม่ว่าจะเป็นในมหาวิทยาลัย ซึ่งห้องเรียนควรมีแสง? อากาศและความสงบ? การจำกัดจำนวนบุคคลต่อห้องเช่นไม่เกิน 20 คนเพื่อคุณภาพในการเรียนและส่งเสริมสุขภาพรายบุคคล หรืออาจมีข้อจำกัดห้ามใส่น้ำหอมเพื่อไม่ให้กลิ่น? รบกวนขณะเรียน? สำหรับอาจารย์จะมีห้องส่วนตัวซึ่งประกอบไปด้วยอินเตอร์เนต หรือเมลล์ของมหาวิทยาลัยที่มีการป้องกันเมลล์ขยะ? มีห้อง.สวนพฤษศาสตร์ประจำเมืองซึ่งสามารถไปศึกษาหาความรู้ หรือพักผ่อนได้? สถานที่พักผ่อนต้องเงียบสงบ? นอกจากนั้นยังพบอีกว่าตึกเก่าในต่างประเทศจะคงยังรักษาไว้ โดยมีการทาสีเป็นประจำเพื่อลดการต้องทุบทิ้งหรือสร้างใหม่?? ?ซึ่งที่กล่าวมาสามารถส่งเสริมสุขภาพได้เป็นอย่างดี อ.ศศิธร? สรุปประเด็นเพิ่ม? จะเห็นได้ว่าต่างประเทศนั้นมีนโยบาย? กฎเกณฑ์ชัดเจนในการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพเป็นอย่างดี ??????????????? อ.ไพทูรย์ ให้ความรู้เกี่ยวกับวิจัยที่ลงเก็บข้อมูลในชุมชนเรื่องการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ จากประสบการณ์ในการทำวิจัยพบว่ากลุ่มผู้สูงอายุมักจะพบปัญหาเช่นข้อเข่าเสื่อม เป็นต้น? สิ่งสำคัญในการชักจูงผู้สูงอายุในการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพคือผู้นำกลุ่มผู้สูงอายุที่ดี? และต้องเป็นผู้นำในกลุ่มผู้สูงอายุเอง ในการ motivation กลุ่มในการทำกิจกรรมให้ต่อเนื่อง? นอกจากนั้นชุมชนไม่ว่าจะเป็น หน่วยงาน อบต. หรือประชาชนควรเข้ามามีส่วนร่วมให้มากขึ้นไม่ใช่แค่เข้ามาดูเพียงอย่างเดียว บางครั้งผู้นำกลุ่มผู้สูงอายุกับกลุ่มอบต. มีความเห็นไม่ตรงกัน? ผู้นำกลุ่มลาออก ทำให้ขาดแรงจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมได้? จากการทำงานพบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่ไผ่ล้อม จังหวัดอุตรดิตถ์ มีความเข้มแข็งมาก ทั้งผู้นำกลุ่มผู้สูงอายุ? ภาคีเครือข่ายภาคประชาชนและภาครัฐ ที่คอยให้ความร่วมมือและสนับสนุน? และจากประสบการณ์ทำวิจัยในผู้สูงอายุบางกลุ่มพบว่ากลุ่มผู้สูงอายุสลายกลุ่มหรือไม่มีความเข้มแข็ง? ซึ่งหากต้องการให้มีกลุ่มที่เข้มแข็ง ควรมีผู้นำกลุ่มที่ดีและได้มาจากผู้สูงอายุเอง? ชุมชนเข้ามีส่วนร่วม? กลุ่มผู้สูงอายุมีความยึดมั่นในกลุ่มและมีความรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของ? โดยหลักอาจสรุปได้ดังนี้ ??????????????? 1. ?สร้างผู้นำที่เข้มแข็ง ??????????????? 2. การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้สูงอายุเอง และชุมชนเข้ามาสนับสนุนรวมถึงคนในครอบครัวของผู้สูงอายุให้ความช่วยเหลือ ??????????????? 3. สร้างความตระหนักในการรวมกลุ่ม? ไม่รวมกลุ่มตามกระแสซึ่งไม่ทำให้เกิดความยั่งยืน ??????????????? อ.ศศิธร? นำเสนอการรวมกลุ่มของกลุ่มวิจัยเรื่องเอดส์ที่จังหวัดลำพูน? ได้รับเงินทุนสนับสนุนจาก WHO ทั้งค่าเดินทางและการทำกลุ่ม ซึ่งพบว่ามีคนเข้าร่วมจำนวนมาก? เมื่อหมดงบประมาณสนับสนุน? กลุ่มนี้ก็ลดจำนวนสมาชิกลง คนเข้าร่วมน้อย เพราะคนส่วนใหญ่ยังขาดความตระหนักในการทำกลุ่มหรือไม่เห็นความสำคัญในการดำเนินงานของกลุ่ม ??????????????? อ.ไพทูรย์ แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมว่า? ในกลุ่มผู้สูงอายุการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเป็นเฉพาะบุคคลมักไม่ได้ผล? เนื่องจากโดนเบี่ยงเบนหลายประการเช่น คนที่มาหาที่บ้าน?? ลูกหลาน? หรือไม่มีแรงจูงใจในการออกกำลังกายคนเดียวที่บ้าน? แต่หากไปออกกำลังกายกับกลุ่มนอกบ้าน? จะลดปัจจัยเบี่ยงเบนลงได้ นอกจากนั้นยังมีแรงจูงใจในการออกกำลังกายเพราะมีตัวแบบในการทำกิจกรรมจึงต้องออกกำลังกายให้ได้ตามแบบอย่าง เช่นอย่างน้อย 30 นาที คิดว่าคนอื่นออกได้เราก็ทำได้? มีความคิดว่าตนเองสามารถทำได้?? self efficiency? ส่วนกลุ่มผู้สูงอายุที่ชอบออกกำลังกายคนเดียวที่บ้านพบว่าเป็นกลุ่มที่มีสุขภาพดี? ไม่ชอบออกกำลังกายกับกลุ่มหลายๆคน?? นอกจากนั้นพบว่า? การจัดกิจกรรมผู้สูงอายุควรคำนึงถึงกิจกรรมด้วยว่าเหมาะสมกับกลุ่มหรือไม่? เช่นการเต้นแอโรบิค อาจเหมาะกับกลุ่มวัยรุ่น หรือวัยผู้ใหญ่มากกว่าผู้สูงอายุ? หรือการเต้นรำเหมาะกับกลุ่มผู้หญิงมากกว่าผู้สูงอายุชาย ซึ่งผู้ชายไม่ค่อยชอบการเต้นรำจึงไม่อยากเข้ารวมกลุ่ม นอกจากนั้นผู้สูงอายุบางคนมีภาระต้องเลี้ยงดูลูกหลาน? หรือบ้านไกลต้องให้คนอื่นมาส่งทำกิจกรรมทำให้เกิดความยากลำบากในการเดินทางสิ่งเหล่านี้ควรคำนึงถึงด้วย ??????????????? อ.ศศิธร? ทำวิจัยเรื่องพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อ H1N1 ในกลุ่มนักเรียน? โดยมีแนวคิดการทำวิจัยจากนักศึกษาที่เรียนรายวิชาวิจัย? เก็บข้อมูลนักเรียนในโรงเรียนจังหวัดอุตรดิตถ์? พบว่านักเรียนส่วนใหญ่มีความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อ H1N1 ในระดับปานกลางเท่านั้น? และรู้จากสื่อทางโทรทัศน์? ซึ่งคนในครอบครัวเปิดรับข่าวสาร? แต่ได้ความรู้จากเจ้าหน้าที่หรือแหล่งอื่นๆน้อย?? ผลวิจัยยังพบอีกว่าความรู้ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อ? ความสร้างความตระหนักในการส่งเสริมสุขภาพเช่นกัน?? เคยได้ทราบความต้องการของนักศึกษาของวิทยาลัยพยาบาลว่า? จะส่งเสริมสุขภาพอย่างไรเมื่อสิ่งแวดล้อมของนักศึกษาเองไม่เอื้อเช่น? ห้องพักไม่มีความเป็นส่วนตัว? นอนห้องละ 4-5 คน?? แม้ว่ามีเครื่องออกกำลังกายในวิทยาลัยแต่ใช้ได้เพียงบางเครื่องเท่านั้น? การออกกำลังกายภายนอกที่ริมน้ำน่านช่วงเย็นไม่เหมาะสมกับเวลาและวิถีชีวิตที่ต้องขึ้นฝึกปฏิบัติงาน? ห้องเรียนมีสายไฟจำนวนมากที่ไม่เรียบร้อย ไม่ปลอดภัย? โรงอาหารไม่สะอาด คนทำอาหารเล็บดำ ??เป็นต้น ??????????????? อ.ศศิธร สรุปประเด็นว่า? ในวิทยาลัยควรมีการพัฒนาศักยภาพของตนเองทั้งอาจารย์ นักศึกษาและบุคลากร?? ให้เป็นองค์กรณ์ต้นแบบที่ส่งเสริมสุขภาพอย่างจริงจัง?? สร้างความตระหนักในการส่งเสริมสุขภาพ เหมือนดังอยู่ในกิจวัตรประจำวัน? นอกจากนั้นควรมีการโหวตหรือทำประกาศสาธารณะซึ่งร่วมกันทุกกลุ่มในการสร้างข้อตกลงร่วมกันเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ ??????????????? อ.อรทัย? ให้ความรู้เกี่ยวกับการทำวิจัยเรื่องพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มนักศึกษาหลักสูตรผู้ช่วยเหลือคนไข้ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์? พบว่าพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับดี? หากพิจารณารายด้านพบว่า? ด้านเจริญทางปัญญาพบว่ามีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด? ส่วนด้านการบริโภคอาหารพบว่าอยู่ในระดับปานกลาง มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด จากการศึกษาทั้ง 6 ด้าน? จากผลการศึกษาพบว่าส่วนใหญ่นักศึกษาอยู่ในวัยผู้ใหญ่? บางกลุ่มมีสามี และลูก? บางกลุ่มมีอาชีพของตนเอง? ซึ่งกลุ่มที่อยู่ในวัยผู้ใหญ่มีทักษะการจัดการกับความเครียดที่ดี? มีการกำหนดเป้าหมายของชีวิตซึ่งในการเก็บข้อมูลนั้นเป็นช่วงที่นักศึกษาใกล้สำเร็จการศึกษา ทำให้คะแนนด้านเจริญทางปัญญาสูงสุด?? ส่วนในการสอบถามพบว่าในเรื่องการบริโภคอาหาร? ผลวิจัยพบว่าการรับประทานอาหารตรงเวลา? ,ครบทุกมื้อ , หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง? มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดตามลำดับ? โดยให้เห็นผลว่าในการเรียนรวมถึงการดูแลครอบครัวบางครั้งทำให้ไม่ได้ดูแลเรื่องอาหารของตนเองเท่าไหร่? รวมถึงการมาเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้ทำอาหารทานเองจำเป็นต้องซื้ออาหารมารับประทาน? หรือรับประทานที่โรงอาหารของวิทยาลัย? ซึ่งไม่มีทางเลือกในการรับประทานอาหาร?? ต้องการรับประทานอาหารส่งเสริมสุขภาพ เช่น อาหารชีวจิต? บ้างแต่ในวิทยาลัยไม่มี? จึงได้สั่งอาหารชีวจิตจากข้างนอกมาส่ง แต่เมื่อนานวันเข้าก็มีจำนวนคนสั่งน้อยเจ้าของร้านจึงไม่ได้มาส่ง? ทำให้การรับประทานอาหารนั้นไม่มีทางเลือกเท่าที่ควร? ??????????????? อ.พรรณพิไล? ให้ความรู้เรื่องการวิจัยยาฆ่าเห่าผสมใบน้อยหน่าในกลุ่มเด็กนักเรียนประถมศึกษา จากการศึกษาความเป็นมาพบว่าในกลุ่มเด็กนักเรียนระดับประถมศึกษามีปัญหาเรื่องของฟันผุ และเป็นเหาจำนวนมาก? ซึ่งการกำจัดเหานั้นคุณครูใช้น้ำมันก๊าดผสมยาฆ่าเหาสระผมเด็ก? ซึ่งมีกลิ่นเหม็นมาก? รวมทั้งเด็กบางคนแพ้ยาฆ่าเหา ทำให้การกำจัดเหาไม่ประสบผลสำเร็จ? จึงต้องการคิดค้นยาฆ่าเหาที่ไม่ทำให้เกิดการระคายเคืองและไม่เหม็น จึงได้สูตรมาจากเพื่อนที่เค้าใช้ผลและใบน้อยหน่า คิดค้นเป็นแชมพูเพื่อสระผมเด็ก? ผลการวิจัยพบว่าเหาลดลง? แต่การใช้แชมพูไม่ต่อเนื่อง? อาจเนื่องจากผู้ใหญ่หรือเด็กเข้าใจผิดว่าเป็นแชมพูเฉพาะสำหรับฆ่าเหาเท่านั้น ความจริงสามารถใช้ต่อเนื่องในการสระผมได้ด้วย เพื่อลดจำนวนเหา และการกลับมาเป็นซ้ำได้? นอกจากนั้นแชมพูนี้ควรต้องได้รับการปรับปรุงอีกครั้งเพื่อผลที่ดียิ่งขึ้น? สำหรับการทำกิจกรรมกับเด็กกลุ่มนี้พบว่าควรมีการจัดกิจกรรมที่ไม่น่าเบื่อ? น่าสนุกสนาน? ส่งเสริมพัฒนาการตามวัยถึงจะได้รับความร่วมมือที่ดี ? ระเบียบวาระที่ 3 สรุปประเด็นความรู้ที่ได้จากการแสวงหาร่วมกัน ??????????????? 3.1 สรุปประเด็นที่ได้ ??????????????? ??????????????? 1. อันดับแรกต้องสร้างความตระหนักของตนเองในการที่จะส่งเสริมสุขภาพก่อน ??????????????????????????????? 2. สิ่งสำคัญในการส่งสริมสุขภาพ? ควรคำนึงถึงปัจจัยหลายประการ ดังนี้คือ? กิจกรรมที่คำนึงถึงความเหมาะสม? และความแตกต่างของ? เพศ? วัย? ความชอบของแต่ละบุคคล? สิ่งแวดล้อมของบุคคล? เช่นระยะทางในการเดินทางเข้าร่วมกิจกรรม? สิ่งสนับสนุนจากภายนอก เช่นคนในครอบครัว ชุมชน? อบต.เป็นต้น ??????????????????????????????? 3. การพัฒนาศักยภาพการส่งเสริมสุขภาพต้องนอกจากเน้นตัวบุคคลเองแล้วยังต้องมีผู้นำทางจิตวิญญาณของกลุ่มที่ต้องมีทั้งความรู้และพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพที่ดี ??????????????????????????????? 4. การส่งเสริมสุขภาพที่จะประสบความสำเร็จได้ต้องได้รับความร่วมมือที่ดีจากคนในองค์กรณ์เดียวกันในการคิดวิถีส่งเสริมสุขภาพร่วมกัน? รวมถึงการสนับสนุนของคนนอกองค์กรณ์ด้วยเช่นกัน ??????????????????????????????? 5. การจัดสิ่งแวดล้อมในองค์กรณ์ให้น่าอยู่และส่งเสริมสุขภาพ โดยเน้นการจัดองค์กรณ์ที่มีการนำผลวิจัยมาปรับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม Healthy work place 6. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพตามวัยพบว่ามีประเด็นที่สำคัญในแต่ละวัยดังนี้ ??????????????????????????????????????????????? 6.1 วัยผู้สูงอายุ? กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจะได้ผลดี? เนื่องจากมีผู้นำกลุ่มที่ดีที่ได้มาจากกลุ่มผู้สูงอายุเอง? การทำกิจกรรมควรทำเป็นกลุ่ม? การได้รับความช่วยเหลือที่ดีและแรงสนับสนุนจากคนในครอบครัว และจากสังคม? การทำกิจกรรมกลุ่มควรคำนึงความเหมาะสมด้วย เช่นกิจกรรมที่ไม่โลดโผน? เพราะส่วนใหญ่วัยนี้จะมีปัญหาเรื่องของข้อเข่าเสื่อม? และกิจกรรมที่เหมาะสมกับเพศทั้งชายและหญิง ??????????????????????????????????????????????? 6.2 ?วัยผู้ใหญ่?? กิจกรรมควรคำนึงถึงความแตกต่างของแต่ละบุคคล เช่นข้อจำกัดเรื่องของช่วงเวลาในการทำกิจกรรม? ภาระหน้าที่อื่นๆ ??????????????????????????????????????????????? 6.3? วัยเรียน? กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ? ควรมีผู้นำของกลุ่มเด็กเอง เช่น อสม.น้อยในโรงเรียนเพื่อให้เด็กมีส่วนร่วม? รวมถึงกิจกรรมควรเป็นกิจกรรมที่ชักจูงให้เด็กเข้าร่วมได้ ไม่น่าเบื่อ เช่นแสดงละครส่งเสริมสุขภาพ? เป็นต้น ? ??????????????? 3.2 กิจกรรมต่อไป ??????????????????????????????? เผยแพร่คามรู้ที่ได้ผ่าน web blog , website ของวิทยาลัยและแผ่นพับประชาสัมพันธ์ ? ปิดประชุมเวลา 12.00 น.
Most help artilecs on the web are inaccurate or incoherent. Not this!
RSS feed สำหรับความเห็นต่อเรื่องนี้ TrackBack URI
Name (ต้องการ)
Mail (will not be published) (ต้องการ)
Website
ทดสอบ BLOG
อยากได้แหล่งเรียนรู้ที่มีการ up date เกี่ยวกับกรอบแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ ยกตัวอย่างเช่น ตำรา วารสาร บทความ งานวิจัย
เตรียมพร้อมรับสังคมผู้สูงอายุด้วยการส่งเสริมสุขภาพ
??????????? ในขณะที่ภาวการณ์เจริญพันธ์ได้ลดลงอย่างรวดเร็ว คนไทยก็มีชีวิตที่ยินยาวขึ้นด้วย อายุคาดเฉลี่ยของประชากรไทยที่ยืนยาวไม่ถึง 60 ปี เมื่อ 50 ปีก่อน ได้เพิ่มสูงขึ้นเป็น 73 ปี ในปี พ.ศ. 2552 ภาวะเจริญพันธุ์ที่ลดลงและอายุที่ยืนยาวขึ้น ได้ทำให้โครงสร้างอายุของประเทศไทยเปลี่ยนไปอย่างมาก ด้วยอายุมัธยฐานอยู่ที่ 17 ปี เมื่อ 50 ปีก่อน ได้กลายเป็นประชากรสูงอายุที่มีอายุมัธยฐานสูงขึ้นถึง 32 ปี ในปี พ.ศ.2553? อาจกล่าวได้ว่าปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” โดยสมบูรณ์แล้ว
??????????? ผู้สูงอายุของเรากำหนดที่ 60 ปีขึ้นไป แต่องค์การอนามัยโลกกำหนด 65?ปี?เรามีพระราชบัญญัติสุขภาพผู้สูงอายุไทยปี 2546 ที่กำหนดไว้ว่า คนที่อายุเกิน 60 ปีขึ้นไป ถือว่าเป็นผู้สูงอายุ ในขณะนี้เรามีผู้สูงอายุที่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย และแบ่งเป็น 3 กลุ่ม วัยต้น วัยกลาง วัยปลาย หรือ Young old 60-69 ปี Medium old 70-79 ปี Old – old 80 ปี ขึ้นไป องค์การอนามัยโลกกำหนด สังคมผู้สูงอายุ มี 2 คำ คือ Aging society กับ Aged society เขาใช้ที่อายุเกิน 65 ขึ้นไป ถ้าประเทศใดมี 65 ขึ้นไป เกิน 7% ขึ้นไป ถือเป็น Aging society = กำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ แต่ถ้าอายุ 65 ปีขึ้นไปเกิน 14% คือ ประเทศที่เป็นสังคมผู้สูงอายุเต็มตัว ประเทศไทย เป็น Aging society
??????????? และการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุก็ไม่ได้มองว่า เจ็บป่วยหรือไม่? แต่มองว่า เขาสามารถพึ่งตัวเองได้หรือไม่ ผู้สูงอายุ 3 กลุ่ม?คือ?กลุ่มที่ 1?พึ่งตนเองได้ มีประมาณ 78% สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ ไปโน่นมานี่ได้ กลุ่มที่ 2?พึ่งตนเองได้บ้าง อยู่ในบ้านได้ ทำอะไรได้นิดหน่อย แต่ออกนอกบ้านต้องมีใครพาไป มีประมาณ 20% กลุ่มที่ 3?ต้องพึ่งคนอื่น อาจนอนติดเตียง อัมพาต มีประมาณ ?2% กลุ่มพึ่งตนเอง มีการใช้คำง่ายๆ ว่า “ติดสังคม” คือ ดูแลตัวเองได้ และช่วยเหลือคนอื่นได้ กลุ่มที่สอง “ติดบ้าน” ก็พอช่วยตนเองได้ แต่ออกข้างนอกลำบาก และกลุ่มที่สาม “ติดเตียง”
หากมองในมุมการส่งเสริมสุขภาพ และการวางแผนอนาคตด้านสุขภาพ ในอนาคตเราต้องการผู้สูงอายุกลุ่มที่ ?1 (กลุ่มที่พึ่งตนเองได้) ทางเลือกในการพัฒนาคือ การลงทุนในการสร้างเสริมสุขภาพ โดยการดูแลสุขภาพตนเอง และหากโฟกัสมาที่สุขภาพช่องปากก็มองต่อว่า “คนที่มีอายุยืนยาว มีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง ฟันเป็นข้อหนึ่งเลย ถ้ามีฟันดีสมบูรณ์ จะทำให้อายุยืนยาว”
“กรมอนามัย ส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพดี” สิ่งที่จะส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพดีได้ ก็คือ Healthy People และ Healthy Environment ก็คือ พฤติกรรมตนเองดี และสภาพแวดล้อมดีด้วย 6 ยุทธศาสตร์ของกรมอนามัยที่เราขับเคลื่อน และเชื่อว่าจะส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพดี?ก็คือ ยุทธศาสตร์ ในกลุ่มแม่และเด็กเน้นการพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ในกลุ่มวัยรุ่น เป็นการลดปัจจัยเสี่ยงในวัยรุ่น และวัยทำงานตอนนี้เน้นที่ ลดปัญหาโรคอ้วนในคนไทย เพราะหากมีปัญหาโรคอ้วน ก็จะมีเบาหวาน ความดันโลหิตสูงต่างๆ ตามมา ทำให้เกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตต่างๆ ได้ ส่วนกลุ่มผู้สูงอายุ เน้นการส่งเสริมสุขภาพ และทางด้านสิ่งแวดล้อม มอง 2 เรื่อง คือ การทำให้ชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ และ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
??????????? การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ได้ทำพันธกิจที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กรมอนามัย? โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในกลุ่มผู้สูงอายุ ?6 กระบวนการที่สำคัญคือ การเฝ้าระวัง (Surveillance) ผ่านข้อมูล กองทันตสาธารณสุขจะมีการสำรวจข้อมูลทุก 5 ปี ทั้งพฤติกรรมสุขภาพและสถานะสุขภาพช่องปาก ข้อมูลชุดดังกล่าวส่งผลให้เกิดการวางแผนในการดำเนินการต่อเนื่อง ?จากการเฝ้าระวังผ่านข้อมูล จะเกิดคำถามการวิจัย (Research Question)นำไปสู่การวิจัยและพัฒนา(research and development) สร้าง Intervention เพื่อการแก้ไขปัญหา หรือเสริมศักยภาพเพื่อบรรลุในการแก้ไขปัญหา มีการควบคุมและประเมินผล (Monitor and Evaluation) ภารกิจหนึ่งที่สำคัญคือ การดูแลคุ้มครองผู้บริโภค (Customer protection)?? และ การสนับสนุนผู้ให้บริการ (Provider support)เช่นโรงพยาบาลและสถานีอนามัยในการพัฒนาทักษะถ่ายทอดองค์ความรู้ กระบวนการสุดท้ายที่มีผลต่อความยั่งยืนคือการเป็นพันธมิตร(Funder alliance)กับองค์กรที่มีงบประมาณ ไม่ว่าจะเป็น สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หรือ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ในแง่มุมของการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ก็สอดคล้องกับหลักการส่งเสริมสุขภาพนานาชาติ คือ สอดคล้องกับ Ottawa charter และ Bangkok charter
??????????? Ottawa charter ได้ให้แนวคิดการส่งเสริมสุขภาพแบ่งออกเป็น 5 แนวทางได้แก่ คุณต้องเพิ่มความสามารถของชุมชน คือ ชุมชนเข้มแข็ง ทันตสาธารณสุขอยากให้มีสุขภาพช่องปากดี ถ้าเราใช้ความสามารถของชุมชน ให้มีชุมชนเข้มแข็ง อย่างเช่น เราพยายามจะทำชมรมผู้สูงอายุให้เข้มแข็ง และช่วยกันดูแล เพราะว่าเรื่องของชุมชนจะส่งผล เขาจะมีมาตรการสังคมขึ้นมาในชุมชนนั้นๆ เช่น มีมาตรการ ห้ามกินหมาก และมีการพูดคุยกัน และก็จะส่งผลให้ไม่มีการกินหมากได้หรือไม่ ต้องพัฒนาทักษะของบุคคล? เช่น ผู้สูงอายุ เขาแปรงฟันได้ดีไหม ???แปรงฟันแล้ว สามารถทำความสะอาดฟันได้ดีจริงหรือเปล่า การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ?เช่น โรงเรียน หรือ ชมรม ชุมชนนั้นไม่มีน้ำอัดลม ถ้ามีน้ำอัดลม นมเปรี้ยวที่หวาน เด็กกินแล้วก็ยังฟันผุ ก็จะส่งผล ปรับระบบบริการ เช่น การทำ sealant หรือ ฟลูออไรด์วาร์นิชในผู้สูงอายุ หรือขูดหินน้ำลาย สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ?… มีเรื่องอะไรบ้างในชุมชนที่จะยกระดับเป็นวาระร่วมของชุมชน เป็นความเห็นพ้องร่วมของชุมชน
????? และมุมมองต่อ Bangkok charter กองทันตสาธารณสุข ก็ต้องไปให้ถึง จากคำย่อ PIRAB หรือ PBAIR กล่าวคือ
P = Partnerคือ ร่วมกันทำ ตอนนี้ทำคนเดียวไม่ไหว ต้องมีทุนทางสังคมมาช่วยกัน ก็คือ มีพวกเยอะ เช่น กรมอนามัยต้องชวนพวกเรามาช่วยกันทำ ไม่มีทางที่กรมอนามัยทำอยู่พวกเดียว เราเอง ชุมชนก็ต้องไปอาศัยชมรมผู้สูงอายุ ท้องถิ่น อปท. ต่างๆ
B= Building capacity พัฒนาศักยภาพ ทำอย่างไรให้เขามีความสามารถ รู้ว่า ต้องแปรงฟันอย่างไร ต้องดูแลอย่างไร หรือถ้าต้องใช้ไหมขัดฟัน ทำอย่างไรที่ให้มีทักษะ เราก็ต้องมีการไปพัฒนา
A= Advocate เรื่องของไหมขัดฟัน อนาคตอาจจะได้ เพราะว่าตอนนี้ที่อีสานมีการใช้ไหมทำเป็นเส้น และเคลือบด้วย Wax ออกมาได้ดี ก็อาจจะดีกว่าพลาสติกที่เขาทำ จะนุ่มกว่า เพราะว่าทำด้วยใยไหมจริงๆ ถ้าทำตรงนี้ขึ้นมาได้ ก็เชื่อว่าราคาจะถูก และก็เป็นไปได้ที่จะให้ชาวบ้าน และนักเรียนได้ใช้ อนาคตคงจะเกิดขึ้น ถ้าเราพิสูจน์ได้ว่า อันนี้เป็นพฤติกรรมหลักที่จำเป็นต้องมี เพื่อที่จะป้องกันการสูญเสียฟัน ต้องรณรงค์เรื่องของการสร้างกระแสให้เขาสนใจได้อย่างไร
??????????? advocate ให้ผู้บริหารในทุกระดับ มีนโยบาย มีแผนงาน สนับสนุนงบประมาณ ได้อย่างไร สร้างกระแสให้ประชาชนเห็นความสำคัญในเรื่องนี้ได้อย่างไร
R= Regulate การออกกฎหมายควบคุมต่างๆ อย่างของเราอาจไม่ชัด แต่มีเรื่องที่พยายามออกกฎหมายควบคุมเรื่องอาหาร ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หรือ โรงเรียนปลอดน้ำอัดลมต่างๆ
I= Invest ก็คือ ต้องลงทุน เช่น ระบบบริการของเราต้องลงทุน ให้มีเครื่องมือต่างๆ หรือลงทุนให้มีระบบเฝ้าระวังต่างๆ
??????????? ดังนั้นการพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ก็ต้องเดินตามแนวคิดการส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ ทั้ง Ottawa charter และ Bangkok charter เพื่อแสวงหาความยั่งยืนในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาศักยภาพทั้งในระดับปัจเจก ระดับกลุ่มและเครือข่าย
??????????? ประเด็นในการส่งเสริมสุขภาพ ?ก็คือ ส่งเสริมสุขภาพ,รักษา และฟื้นฟู ?ในด้านการส่งเสริมสุขภาพเราจะทำอย่างไร จะเป็นการปฏิบัติตัวที่เอื้อให้เกิดสภาวะสุขภาพที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยความสุข? ส่วนในด้านกฎหมายกรมอนามัยผลักดันว่าให้เกิดประกาศกระทรวงฯเพื่อที่จะไปคุมผู้ที่จะมาดูแลผู้สูงอายุ เพื่อความปลอดภัยของผู้สูงอายุ ส่วนในเรื่องการสร้างกระแส เป็นส่วนสำคัญหากมองการรณรงค์เพื่อเสริมแรง เพื่อสร้างศักยภาพ และการเฝ้าระวัง จะเน้นการป้องกันการเกิดโรค?
??????????? แบบประเมินที่ดูว่าผู้สูงอายุมีสุขภาพดีหรือไม่ อย่างไร สามารถดูได้กิจวัตรประจำวันพื้นฐานของผู้สูงอายุ ที่เป็นกิจวัตรประจำวันที่ต้องดูแล หรือเรียกว่า ADL (Barthel Index of Activity of daily living)
Transfer (ลุกนั่งจากที่นอน หรือจากเตียงไปเก้าอี้)
Mobility (การเคลื่อนที่ภายในห้องหรือในบ้าน)
Toilet use (การใช้ห้องสุขา)
Grooming (ล้างหน้า หวีผม แปรงฟัน โกนหนวด)
Bladder (การกลั้นปัสสาวะ)
Bowel (การกลั้นอุจจาระ)
Bathing (การอาบน้ำ)
Feeding (การรับประทานอาหาร)
Dressing (การสวมใส่เสื้อผ้า)
Stair (การขึ้นลงบันได 1 ขั้น)
???????????? ส่วน IADL : Barthel Index Instrumental of Activities of daily living เป็นการใช้เครื่องมือต่างๆ ด้วย ก็คือ
using telephone (การใช้โทรศัพท์เอง)
communication (การเดินทางเอง โดยไม่ต้องใช้ความช่วยเหลือ)
shopping for groceries (การเลือกซื้ออาหารเอง)
preparing meal (การปรุงอาหารเอง อาจจะอุ่นไมโครเวฟ หรืออุ่นกับข้าว)
light housework (การทำงานบ้านเบาๆ เช่น กวาดบ้าน ถูบ้านง่ายๆ)
taking medication (การรับประทานยาด้วยตัวเอง)
managing money (การจัดการเรื่องการเงิน)
??????????? สิ่งที่สำคัญอีกอย่างหนึ่ง ที่ควรจะต้องแนะนำผู้สูงอายุ คือ การตรวจสุขภาพประจำปี เป็นสิ่งที่เป็นสิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุอยู่แล้ว และท่านเองก็ควรจะได้รู้ว่าเป็นอะไรแต่เนิ่นๆ และการรู้แต่เนิ่นๆ ก็จะทำให้โรคนั้นไม่เป็นมาก ก็จะได้รักษาได้
????????? ในด้านนโยบายการดูแลผู้สูงอายุ ก็คิดกันว่า ทำอย่างไรให้ผู้สูงอายุอยู่กับครอบครัวให้นานที่สุด ถ้าอยู่ไม่ได้ หรือต้องการผู้ดูแล รัฐจะต้องเข้าไปช่วยเหลือเกื้อกูลด้วย ผู้สูงอายุจะมี 3 กลุ่ม
กลุ่มที่หนึ่ง กลุ่มติดสังคม คือ กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้ ช่วยเหลือผู้อื่นและสังคม/ชุมชนได้
กลุ่มที่สอง กลุ่มติดบ้าน คือ กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้ แต่มีโรคเรื้อรัง อาจจะต้องมีคนพาไปโรงพยาบาล
กลุ่มที่สาม กลุ่มติดเตียง คือ กลุ่มที่ป่วยและช่วยตัวเองไม่ได้ และพิการ /ทุพพลภาพ
??????????? ในส่วนเกณฑ์สำหรับ ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ?ก็คือ ผู้สูงอายุต้อง
มีสุขภาพดีทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม
มีฟันที่ใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ โดยมีฟัน 4 คู่สบ
มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ /หรือ รอบเอวอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ช่วยตนเองและผู้อื่นได้ตามอัตภาพ
ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที
??????????? ในคราหนึ่ง ทพ.สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการกองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย ได้กล่าวเปิดในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานทันตสาธารณสุขในผู้สูงอายุในพื้นที่นำร่อง ทพ.สุธา ได้เกริ่นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากโดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ ว่า
??????????? “กองทันตสาธารณสุขยินดีที่พวกเราจะได้มานั่งพูดคุยกัน ในเรื่องที่จะเป็นประโยชน์มากมากในอนาคตไม่ใกล้ไม่ไกล ก็คือ เรื่องของผู้สูงอายุ ซึ่งเรื่องของผู้สูงอายุก็เป็นเรื่องที่ลูกๆ หลานๆ และรุ่นเด็กๆ พึงให้ความเคารพ ให้ความช่วยเหลือเกื้อกูล เพราะว่าผู้สูงอายุล้วนได้ทำงานที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชน แก่ประเทศชาติมานาน อย่างน้อยๆ ก็คิดว่า กว่าจะอายุ 60 ปี ถ้าเขาทำงานตั้งแต่อายุ 20 เขาก็ทำงานมาแล้วกว่า 40 ปี ที่ทำงานให้กับประเทศชาติ ให้กับชุมชน หรือให้กับตัวเอง ก่อร่างสร้างตัว สร้างสังคม เป็นหมู่บ้าน เป็นอำเภอ เรื่องของการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ จะเป็นอีกองค์ประกอบหนึ่ง ที่จะทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพ ทั้งทางกาย ทางจิต และเรื่องของการเข้าสังคมได้อย่างปกติสุข”
??????????? การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องสุขภาพและสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ เป็นกิจกรรมหนึ่งในโครงการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ โดยชมรมผู้สูงอายุ สืบเนื่องจากการที่ประเทศไทยได้เข้าสู่ภาวะประชากรผู้สูงอายุ สัดส่วนผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มีแนวโน้มจะเพิ่มจาก 7 ?ล้านคน (ปี 2550) เป็น 2 เท่า?ในอีก 18 ปีข้างหน้า ทุกภาคส่วนจึงมีการเตรียมการเพื่อรองรับสถานการณ์ดังกล่าว เพื่อให้ผู้สูงอายุ อยู่อย่างมีสุขภาพ มีคุณภาพ และมีศักดิ์ศรีในด้านสุขภาพช่องปากพบว่าปัญหาของผู้สูงอายุที่สำคัญก็คือปัญหาการสูญเสียฟันจนไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ ซึ่งเป็นผลลัพธ์สุดท้ายของโรคฟันผุ โรคปริทันต์ รากฟันผุ ที่สะสม มาตั้งแต่วัยเด็กจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สูงอายุต้องได้รับการดูแลทั้งด้านการป้องกัน รักษาร่วมกับการดูแลอนามัยช่องปากตนเองอย่างเหมาะสม
??????????? จากกระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อเดือนเมษายน 2547 ความว่า “เวลาไม่มีฟัน กินอะไรก็ไม่อร่อย ทำให้ไม่มีความสุข จิตใจก็ไม่สบาย ร่างกายก็ไม่แข็งแรง” แสดงให้เห็นผลกระทบของการสูญเสียฟัน ต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจอย่างชัดเจน กรมอนามัยได้น้อมนำมายึดถือเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาการสูญเสียฟันของผู้สูงอายุที่สูญเสียฟัน ในโครงการฟันเทียมพระราชทาน เพื่อใส่ฟันเทียมให้แก่ผู้สูงอายุทั่วประเทศตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นมา และเตรียมการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวาระมหามงคล 84 พรรษา ในปี 2554 ด้วยการใส่ฟันเทียมแก่ผู้สูงอายุต่อเนื่องปีละ 30,000 ราย รวมทั้งมีกิจกรรมเพื่อการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองของผู้สูงอายุ 1 ชมรม 1 อำเภอ
??????????? 3 ปีที่ผ่านมานับตั้งแต่ปี พ.ศ.2551 กรมอนามัยมีการพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากในชมรมผู้สูงอายุ 37 จังหวัด 120 ชมรม เกิดรูปแบบการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่หลากหลาย เพื่อการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองของผู้สูงอายุ จากการร่วมคิด ร่วมทำกันเองในชมรม และได้รับการสนับสนุนจากบุคลากรสาธารณสุข รวมทั้งภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
??????????? รูปธรรมความสำเร็จที่เห็นนี้ ไม่ใช่เรื่องที่เกิดขึ้นจากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง แต่เกิดจากการมีส่วนร่วมของทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง ปัจจัยแห่งความสำเร็จมาจาก 3 ส่วนด้วยกัน ได้แก่
ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการตั้งแต่เริ่มต้น ทั้งผู้สูงอายุ วัด องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีอนามัย และโรงพยาบาลชุมชน มีการสนับสนุนต่างๆ เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจให้เกิดการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
การทำงานเป็นทีมของภาครัฐ ทั้งทันตบุคลากร เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ซึ่งมีความเข้าใจและเชื่อมั่นในงานส่งเสริมสุขภาพ มีวิสัยทัศน์ มีศักยภาพ และสัมพันธภาพที่ดีกับชุมชน
การสนับสนุนด้านวิชาการ การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ภาคีเครือข่าย โดย กรมอนามัย ทั้ง กองทันตสาธารณสุข สำนักส่งเสริมสุขภาพ และศูนย์อนามัย
รายงานการประชุม
วันพุธที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ณ ห้องประชุมบานชื่น
???????????????????????
?
?ผู้เข้าประชุมกลุ่ม KM วิจัย
1.?????? อ.ไพทูรย์? ??????????????????? มาผิว????????????????????????????????????? ประธาน
2.?????? อ. ศศิธร? ????????????????????? ชิดนายี
3.?????? อ.ดร. วรรณวดี ?????????? เนียมสกุล
4.?????? อ.พรรณพิไล? ???????????? สุทธนะ
5.?????? อ.อรทัย ??????????????????????? แซ่ตั้ง? ?????????????????????????????????? เลขานุการ
เริ่มประชุม 9.30 น.
?
ระเบียบวาะระที่ 1 เรื่องแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
??????????????? อ.ไพทูรย์ แจ้งให้ทราบว่า การทำKM วิจัย? ภายใต้ประสบการณ์วิจัยของวิทยาลัยพบว่ามีอาจารย์ทำวิจัยเรื่องการส่งเสริมสุขภาพหลายคน?? และการทำวิจัยหลากหลายกลุ่มไม่ว่าจะเป็นกลุ่มวัยรุ่น? กลุ่มสูงอายุ กลุ่มวัยเด็ก ซึ่งมีจำนวนหลายเรื่อง แต่ยังไม่มีการจัดทำเป็นระบบ? หรือยังไม่มีการจัดเวทีพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อรวมกันรวบรวมวิเคราะห์จึงได้จัดกิจกรรมขึ้นเพื่อจัดการความรู้ด้านการวิจัยของคนในองค์กรณ์? 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมที่? 1 การแสงหาความรู้? กิจกรรมที่ 2 การวิเคราะห์ความรู้? กิจกรรมที่ 3 การสังเคราะห์ความรู้ หลังจบกิจกรรมทั้ง 3 จะมีการติดตามผลการประเมินและนำผลมาพัฒนาการจัดการความรู้ต่อไป? ขอเชิญอาจารย์ทุกท่านร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เพื่อแสวงหาความรู้ร่วมกัน ในประเด็นการพัฒนาศักยภาพอาจารย์เพื่อการส่งเสริมสุขภาพภายใต้ประสบการณ์การทำวิจัย
?
ระเบียบวาระที่ 2 การแสวงหาความรู้
??????????????? อ. ดร.วรรณวดี? ให้ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยเรื่องการส่งเสริมสุขภาพที่พบในต่างประเทศ พบว่าเน้นความสำคัญในการจัดสิ่งแวดล้อมในการทำงาน การอยู่อาศัยโดยใช้งานวิจัยเป็นฐานในการจัดสิ่งแวดล้อม? ไม่ว่าจะเป็นในมหาวิทยาลัย ซึ่งห้องเรียนควรมีแสง? อากาศและความสงบ? การจำกัดจำนวนบุคคลต่อห้องเช่นไม่เกิน 20 คนเพื่อคุณภาพในการเรียนและส่งเสริมสุขภาพรายบุคคล หรืออาจมีข้อจำกัดห้ามใส่น้ำหอมเพื่อไม่ให้กลิ่น? รบกวนขณะเรียน? สำหรับอาจารย์จะมีห้องส่วนตัวซึ่งประกอบไปด้วยอินเตอร์เนต หรือเมลล์ของมหาวิทยาลัยที่มีการป้องกันเมลล์ขยะ? มีห้อง.สวนพฤษศาสตร์ประจำเมืองซึ่งสามารถไปศึกษาหาความรู้ หรือพักผ่อนได้? สถานที่พักผ่อนต้องเงียบสงบ? นอกจากนั้นยังพบอีกว่าตึกเก่าในต่างประเทศจะคงยังรักษาไว้ โดยมีการทาสีเป็นประจำเพื่อลดการต้องทุบทิ้งหรือสร้างใหม่?? ?ซึ่งที่กล่าวมาสามารถส่งเสริมสุขภาพได้เป็นอย่างดี
อ.ศศิธร? สรุปประเด็นเพิ่ม? จะเห็นได้ว่าต่างประเทศนั้นมีนโยบาย? กฎเกณฑ์ชัดเจนในการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพเป็นอย่างดี
??????????????? อ.ไพทูรย์ ให้ความรู้เกี่ยวกับวิจัยที่ลงเก็บข้อมูลในชุมชนเรื่องการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ จากประสบการณ์ในการทำวิจัยพบว่ากลุ่มผู้สูงอายุมักจะพบปัญหาเช่นข้อเข่าเสื่อม เป็นต้น? สิ่งสำคัญในการชักจูงผู้สูงอายุในการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพคือผู้นำกลุ่มผู้สูงอายุที่ดี? และต้องเป็นผู้นำในกลุ่มผู้สูงอายุเอง ในการ motivation กลุ่มในการทำกิจกรรมให้ต่อเนื่อง? นอกจากนั้นชุมชนไม่ว่าจะเป็น หน่วยงาน อบต. หรือประชาชนควรเข้ามามีส่วนร่วมให้มากขึ้นไม่ใช่แค่เข้ามาดูเพียงอย่างเดียว บางครั้งผู้นำกลุ่มผู้สูงอายุกับกลุ่มอบต. มีความเห็นไม่ตรงกัน? ผู้นำกลุ่มลาออก ทำให้ขาดแรงจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมได้? จากการทำงานพบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่ไผ่ล้อม จังหวัดอุตรดิตถ์ มีความเข้มแข็งมาก ทั้งผู้นำกลุ่มผู้สูงอายุ? ภาคีเครือข่ายภาคประชาชนและภาครัฐ ที่คอยให้ความร่วมมือและสนับสนุน? และจากประสบการณ์ทำวิจัยในผู้สูงอายุบางกลุ่มพบว่ากลุ่มผู้สูงอายุสลายกลุ่มหรือไม่มีความเข้มแข็ง? ซึ่งหากต้องการให้มีกลุ่มที่เข้มแข็ง ควรมีผู้นำกลุ่มที่ดีและได้มาจากผู้สูงอายุเอง? ชุมชนเข้ามีส่วนร่วม? กลุ่มผู้สูงอายุมีความยึดมั่นในกลุ่มและมีความรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของ? โดยหลักอาจสรุปได้ดังนี้
??????????????? 1. ?สร้างผู้นำที่เข้มแข็ง
??????????????? 2. การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้สูงอายุเอง และชุมชนเข้ามาสนับสนุนรวมถึงคนในครอบครัวของผู้สูงอายุให้ความช่วยเหลือ
??????????????? 3. สร้างความตระหนักในการรวมกลุ่ม? ไม่รวมกลุ่มตามกระแสซึ่งไม่ทำให้เกิดความยั่งยืน
??????????????? อ.ศศิธร? นำเสนอการรวมกลุ่มของกลุ่มวิจัยเรื่องเอดส์ที่จังหวัดลำพูน? ได้รับเงินทุนสนับสนุนจาก WHO ทั้งค่าเดินทางและการทำกลุ่ม ซึ่งพบว่ามีคนเข้าร่วมจำนวนมาก? เมื่อหมดงบประมาณสนับสนุน? กลุ่มนี้ก็ลดจำนวนสมาชิกลง คนเข้าร่วมน้อย เพราะคนส่วนใหญ่ยังขาดความตระหนักในการทำกลุ่มหรือไม่เห็นความสำคัญในการดำเนินงานของกลุ่ม
??????????????? อ.ไพทูรย์ แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมว่า? ในกลุ่มผู้สูงอายุการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเป็นเฉพาะบุคคลมักไม่ได้ผล? เนื่องจากโดนเบี่ยงเบนหลายประการเช่น คนที่มาหาที่บ้าน?? ลูกหลาน? หรือไม่มีแรงจูงใจในการออกกำลังกายคนเดียวที่บ้าน? แต่หากไปออกกำลังกายกับกลุ่มนอกบ้าน? จะลดปัจจัยเบี่ยงเบนลงได้ นอกจากนั้นยังมีแรงจูงใจในการออกกำลังกายเพราะมีตัวแบบในการทำกิจกรรมจึงต้องออกกำลังกายให้ได้ตามแบบอย่าง เช่นอย่างน้อย 30 นาที คิดว่าคนอื่นออกได้เราก็ทำได้? มีความคิดว่าตนเองสามารถทำได้?? self efficiency? ส่วนกลุ่มผู้สูงอายุที่ชอบออกกำลังกายคนเดียวที่บ้านพบว่าเป็นกลุ่มที่มีสุขภาพดี? ไม่ชอบออกกำลังกายกับกลุ่มหลายๆคน?? นอกจากนั้นพบว่า? การจัดกิจกรรมผู้สูงอายุควรคำนึงถึงกิจกรรมด้วยว่าเหมาะสมกับกลุ่มหรือไม่? เช่นการเต้นแอโรบิค อาจเหมาะกับกลุ่มวัยรุ่น หรือวัยผู้ใหญ่มากกว่าผู้สูงอายุ? หรือการเต้นรำเหมาะกับกลุ่มผู้หญิงมากกว่าผู้สูงอายุชาย ซึ่งผู้ชายไม่ค่อยชอบการเต้นรำจึงไม่อยากเข้ารวมกลุ่ม นอกจากนั้นผู้สูงอายุบางคนมีภาระต้องเลี้ยงดูลูกหลาน? หรือบ้านไกลต้องให้คนอื่นมาส่งทำกิจกรรมทำให้เกิดความยากลำบากในการเดินทางสิ่งเหล่านี้ควรคำนึงถึงด้วย
??????????????? อ.ศศิธร? ทำวิจัยเรื่องพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อ H1N1 ในกลุ่มนักเรียน? โดยมีแนวคิดการทำวิจัยจากนักศึกษาที่เรียนรายวิชาวิจัย? เก็บข้อมูลนักเรียนในโรงเรียนจังหวัดอุตรดิตถ์? พบว่านักเรียนส่วนใหญ่มีความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อ H1N1 ในระดับปานกลางเท่านั้น? และรู้จากสื่อทางโทรทัศน์? ซึ่งคนในครอบครัวเปิดรับข่าวสาร? แต่ได้ความรู้จากเจ้าหน้าที่หรือแหล่งอื่นๆน้อย?? ผลวิจัยยังพบอีกว่าความรู้ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อ? ความสร้างความตระหนักในการส่งเสริมสุขภาพเช่นกัน?? เคยได้ทราบความต้องการของนักศึกษาของวิทยาลัยพยาบาลว่า? จะส่งเสริมสุขภาพอย่างไรเมื่อสิ่งแวดล้อมของนักศึกษาเองไม่เอื้อเช่น? ห้องพักไม่มีความเป็นส่วนตัว? นอนห้องละ 4-5 คน?? แม้ว่ามีเครื่องออกกำลังกายในวิทยาลัยแต่ใช้ได้เพียงบางเครื่องเท่านั้น? การออกกำลังกายภายนอกที่ริมน้ำน่านช่วงเย็นไม่เหมาะสมกับเวลาและวิถีชีวิตที่ต้องขึ้นฝึกปฏิบัติงาน? ห้องเรียนมีสายไฟจำนวนมากที่ไม่เรียบร้อย ไม่ปลอดภัย? โรงอาหารไม่สะอาด คนทำอาหารเล็บดำ ??เป็นต้น
??????????????? อ.ศศิธร สรุปประเด็นว่า? ในวิทยาลัยควรมีการพัฒนาศักยภาพของตนเองทั้งอาจารย์ นักศึกษาและบุคลากร?? ให้เป็นองค์กรณ์ต้นแบบที่ส่งเสริมสุขภาพอย่างจริงจัง?? สร้างความตระหนักในการส่งเสริมสุขภาพ เหมือนดังอยู่ในกิจวัตรประจำวัน? นอกจากนั้นควรมีการโหวตหรือทำประกาศสาธารณะซึ่งร่วมกันทุกกลุ่มในการสร้างข้อตกลงร่วมกันเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ
??????????????? อ.อรทัย? ให้ความรู้เกี่ยวกับการทำวิจัยเรื่องพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มนักศึกษาหลักสูตรผู้ช่วยเหลือคนไข้ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์? พบว่าพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับดี? หากพิจารณารายด้านพบว่า? ด้านเจริญทางปัญญาพบว่ามีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด? ส่วนด้านการบริโภคอาหารพบว่าอยู่ในระดับปานกลาง มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด จากการศึกษาทั้ง 6 ด้าน? จากผลการศึกษาพบว่าส่วนใหญ่นักศึกษาอยู่ในวัยผู้ใหญ่? บางกลุ่มมีสามี และลูก? บางกลุ่มมีอาชีพของตนเอง? ซึ่งกลุ่มที่อยู่ในวัยผู้ใหญ่มีทักษะการจัดการกับความเครียดที่ดี? มีการกำหนดเป้าหมายของชีวิตซึ่งในการเก็บข้อมูลนั้นเป็นช่วงที่นักศึกษาใกล้สำเร็จการศึกษา ทำให้คะแนนด้านเจริญทางปัญญาสูงสุด?? ส่วนในการสอบถามพบว่าในเรื่องการบริโภคอาหาร? ผลวิจัยพบว่าการรับประทานอาหารตรงเวลา? ,ครบทุกมื้อ , หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง? มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดตามลำดับ? โดยให้เห็นผลว่าในการเรียนรวมถึงการดูแลครอบครัวบางครั้งทำให้ไม่ได้ดูแลเรื่องอาหารของตนเองเท่าไหร่? รวมถึงการมาเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้ทำอาหารทานเองจำเป็นต้องซื้ออาหารมารับประทาน? หรือรับประทานที่โรงอาหารของวิทยาลัย? ซึ่งไม่มีทางเลือกในการรับประทานอาหาร?? ต้องการรับประทานอาหารส่งเสริมสุขภาพ เช่น อาหารชีวจิต? บ้างแต่ในวิทยาลัยไม่มี? จึงได้สั่งอาหารชีวจิตจากข้างนอกมาส่ง แต่เมื่อนานวันเข้าก็มีจำนวนคนสั่งน้อยเจ้าของร้านจึงไม่ได้มาส่ง? ทำให้การรับประทานอาหารนั้นไม่มีทางเลือกเท่าที่ควร?
??????????????? อ.พรรณพิไล? ให้ความรู้เรื่องการวิจัยยาฆ่าเห่าผสมใบน้อยหน่าในกลุ่มเด็กนักเรียนประถมศึกษา จากการศึกษาความเป็นมาพบว่าในกลุ่มเด็กนักเรียนระดับประถมศึกษามีปัญหาเรื่องของฟันผุ และเป็นเหาจำนวนมาก? ซึ่งการกำจัดเหานั้นคุณครูใช้น้ำมันก๊าดผสมยาฆ่าเหาสระผมเด็ก? ซึ่งมีกลิ่นเหม็นมาก? รวมทั้งเด็กบางคนแพ้ยาฆ่าเหา ทำให้การกำจัดเหาไม่ประสบผลสำเร็จ? จึงต้องการคิดค้นยาฆ่าเหาที่ไม่ทำให้เกิดการระคายเคืองและไม่เหม็น จึงได้สูตรมาจากเพื่อนที่เค้าใช้ผลและใบน้อยหน่า คิดค้นเป็นแชมพูเพื่อสระผมเด็ก? ผลการวิจัยพบว่าเหาลดลง? แต่การใช้แชมพูไม่ต่อเนื่อง? อาจเนื่องจากผู้ใหญ่หรือเด็กเข้าใจผิดว่าเป็นแชมพูเฉพาะสำหรับฆ่าเหาเท่านั้น ความจริงสามารถใช้ต่อเนื่องในการสระผมได้ด้วย เพื่อลดจำนวนเหา และการกลับมาเป็นซ้ำได้? นอกจากนั้นแชมพูนี้ควรต้องได้รับการปรับปรุงอีกครั้งเพื่อผลที่ดียิ่งขึ้น? สำหรับการทำกิจกรรมกับเด็กกลุ่มนี้พบว่าควรมีการจัดกิจกรรมที่ไม่น่าเบื่อ? น่าสนุกสนาน? ส่งเสริมพัฒนาการตามวัยถึงจะได้รับความร่วมมือที่ดี
?
ระเบียบวาระที่ 3 สรุปประเด็นความรู้ที่ได้จากการแสวงหาร่วมกัน
??????????????? 3.1 สรุปประเด็นที่ได้
??????????????? ??????????????? 1. อันดับแรกต้องสร้างความตระหนักของตนเองในการที่จะส่งเสริมสุขภาพก่อน
??????????????????????????????? 2. สิ่งสำคัญในการส่งสริมสุขภาพ? ควรคำนึงถึงปัจจัยหลายประการ ดังนี้คือ? กิจกรรมที่คำนึงถึงความเหมาะสม? และความแตกต่างของ? เพศ? วัย? ความชอบของแต่ละบุคคล? สิ่งแวดล้อมของบุคคล? เช่นระยะทางในการเดินทางเข้าร่วมกิจกรรม? สิ่งสนับสนุนจากภายนอก เช่นคนในครอบครัว ชุมชน? อบต.เป็นต้น
??????????????????????????????? 3. การพัฒนาศักยภาพการส่งเสริมสุขภาพต้องนอกจากเน้นตัวบุคคลเองแล้วยังต้องมีผู้นำทางจิตวิญญาณของกลุ่มที่ต้องมีทั้งความรู้และพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพที่ดี
??????????????????????????????? 4. การส่งเสริมสุขภาพที่จะประสบความสำเร็จได้ต้องได้รับความร่วมมือที่ดีจากคนในองค์กรณ์เดียวกันในการคิดวิถีส่งเสริมสุขภาพร่วมกัน? รวมถึงการสนับสนุนของคนนอกองค์กรณ์ด้วยเช่นกัน
??????????????????????????????? 5. การจัดสิ่งแวดล้อมในองค์กรณ์ให้น่าอยู่และส่งเสริมสุขภาพ โดยเน้นการจัดองค์กรณ์ที่มีการนำผลวิจัยมาปรับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม Healthy work place
6. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพตามวัยพบว่ามีประเด็นที่สำคัญในแต่ละวัยดังนี้
??????????????????????????????????????????????? 6.1 วัยผู้สูงอายุ? กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจะได้ผลดี? เนื่องจากมีผู้นำกลุ่มที่ดีที่ได้มาจากกลุ่มผู้สูงอายุเอง? การทำกิจกรรมควรทำเป็นกลุ่ม? การได้รับความช่วยเหลือที่ดีและแรงสนับสนุนจากคนในครอบครัว และจากสังคม? การทำกิจกรรมกลุ่มควรคำนึงความเหมาะสมด้วย
เช่นกิจกรรมที่ไม่โลดโผน? เพราะส่วนใหญ่วัยนี้จะมีปัญหาเรื่องของข้อเข่าเสื่อม? และกิจกรรมที่เหมาะสมกับเพศทั้งชายและหญิง
??????????????????????????????????????????????? 6.2 ?วัยผู้ใหญ่?? กิจกรรมควรคำนึงถึงความแตกต่างของแต่ละบุคคล เช่นข้อจำกัดเรื่องของช่วงเวลาในการทำกิจกรรม? ภาระหน้าที่อื่นๆ
??????????????????????????????????????????????? 6.3? วัยเรียน? กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ? ควรมีผู้นำของกลุ่มเด็กเอง เช่น อสม.น้อยในโรงเรียนเพื่อให้เด็กมีส่วนร่วม? รวมถึงกิจกรรมควรเป็นกิจกรรมที่ชักจูงให้เด็กเข้าร่วมได้ ไม่น่าเบื่อ เช่นแสดงละครส่งเสริมสุขภาพ? เป็นต้น
?
??????????????? 3.2 กิจกรรมต่อไป
??????????????????????????????? เผยแพร่คามรู้ที่ได้ผ่าน web blog , website ของวิทยาลัยและแผ่นพับประชาสัมพันธ์
?
ปิดประชุมเวลา 12.00 น.
Most help artilecs on the web are inaccurate or incoherent. Not this!